Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5495
Title: ผลการจัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไปที่มีต่อความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
Other Titles: The effects of story telling along with drawing activities on position and direction telling abilities of preschool children at Anuban Ubon Ratchathani School in Ubon Ratchathani Province
Authors: ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต, อาจารย์ที่ปรึกษา
เพ็ญวิไล ผาสุขมูล, 2498-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การเล่านิทาน--กิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
Issue Date: 2552
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย และเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่า นิทานแบบวาดไปเล่าไป กลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัยกำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนอนุบาลอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 38 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไปและแบบวัด ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบวาดไปเล่าไปมี ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ในการบอกตำแหน่งและทิศทางในระดับดี คือ ปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ร้อยละ 34.21 และในระดับพอใช้ คือ ปฏิบัติได้เป็นบางครั้งร้อยละ 65.79 และความสามารถด้าน มิติสัมพันธ์จากการทดสอบแบบปฏิบัติจริงของเด็กปฐมวัยหลังการทดลองการจัดกิจกรรมการเล่า นิทานแบบวาดไปเล่าไปสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5495
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_127362.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons