Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิตth_TH
dc.contributor.authorนวนัฏ อินปั๋น, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-09T09:22:25Z-
dc.date.available2023-04-09T09:22:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5582en_US
dc.description.abstractการวิชัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัย และ (2) สังเคราะห์เชิงคุณภาพของงานวิจัยด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัยประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ วิทยานิพนธ์ / ปริญญานิพนธ์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่พิมพ์เผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ. 2540-2550 จำนวน 49 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (I) แบบประเมินคุณภาพงานวิจัย และ (2) แบบสรุปคุณลักษณะ ของงานวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของงานวิจัยปีที่พิมพ์เผยแพร่มากที่สุดคือปี พ.ศ. 2544 ละปี พ.ศ. 2547 สถาบันที่ผลิตงานวิจัยมากที่สุดคือ มหาวิทยาลัยศรืนครินทรวิโรฒ มีการตั้งสมมดิฐานสองทางมากที่สุด ส่วนใหญ่ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง งานวิจัยร้อยละ 65.3 1 ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยการเลือกแบบเจาะง ใช้แบบสังเกตเป็นเครื่องมือมากที่สุด ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยตรวจสอบคำความตรง รองลงมาคือค่าความเที่ยง ใช้เครื่องมือที่สร้างขึ้นเอง สถิติพรรณนาที่ผู้วิจัยใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมากที่สุดคือค่าเฉลี่ย และค่าเยี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอ้างอิงผู้วิจัยใช้การทดสอบคำที่ และ 2) ผลการสังเคราะห์เชิงคุณภาพของงานวิจัย (1) ด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจของเด็กปฐมวัย มีงานวิจัย จำนวน 29 เรื่อง แบ่งประเด็นที่ศึกษาได้ 8 ประเด็น คือ ศึกษาเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เพื่พัฒนาการรับรู้ทางอริยธรรมของเด็กปฐมวัย การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ การพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง การพัฒนาความเพียร การพัฒนาความภาคภูมิใจในตนเอง การพัฒนาความมีวินัยในตนเอง การพัฒนาความรับผิดชอบ การพัฒนาความเอื้อเฟื้อ ได้ข้อนพบดังนี้ มีผู้ทำการศึกษาประเด็นการพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กปฐมวัยมากที่สุด งานวิจัยทุกเรื่องมีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันคือ เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการค้านอารมณ์ จิตใจสูงขึ้นหลังจากการจัดประสบการณ์ และ (2) ด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางสังคมของเด็กปฐมวัยมีงานวิชัย ชำนวน 20 เรื่อง แบ่งตามประเด็นที่ศึกษาได้ 8 ประเด็น คือ ศึกษาเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย การพัฒนาสัมพันธภาพ การส่งเสริมจริยธรรมทางสังคม การตระหนักรู้ทางสังคม การพัฒนาความร่วมมือ การพัฒนาความสัมพันธ์ทางสังคม การพัฒนาพฤติกรรมชอบสังคม การพัฒนาพฤติกรรมทางสังคม ใด้ข้อค้นพบ ดังนี้ มีผู้ทำการศึกษาประเด็นการพัฒนาพฤติกรรมความร่วมมือมากที่สุด งานวิจัย 18 เรื่องมีผลการวิจัยที่สอดคล้องกันคือ เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านสังคมสูงขึ้นหลังจากการจัดประสบการณ์ มีงานวิจัย 2 เรื่อง ที่ผลการวิจัยไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหา--วิจัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาปฐมวัย--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตสาขาวิชาศึกษาปฐมวัยด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัยth_TH
dc.title.alternativeSynthesis of Master's Degree Theses on the provision of experience affecting emotional, mental and social development of preachool childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_112731.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons