Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ อุสาหะ, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-26T02:11:19Z-
dc.date.available2023-04-26T02:11:19Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5612-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการส่งเสริมการใช้น้ำบาดาล และแนวทางการส่งเสริมการใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดอ่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เกษตรผู้ใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตรในจังหวัดอ่างทองจำนวน 172 คน มีการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย 1) ลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร 2) สภาพการใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตร 3) การส่งเสริมการใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตร และ 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการส่งเสริมการใช้น้ำบาดาลของเกษตรกร จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า โดยภาพรวมเกษตรกรมีความต้องการที่จะได้รับการส่งเสริมการใช้น้ำบาดาลในระดับมาก เมื่อพิจารณาประเด็น พบว่า เกษตรกรมีความต้องการการสนับสนุนการใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตรจากภาครัฐ รวมถึงการส่งเสริมด้านตลาดผลผลิตทางการเกษตร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้เข้าถึงข่าวสารหรือองค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำบาดาลได้ง่ายขึ้น การใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตรเป็นทางเลือกหนึ่งที่เกษตรกรได้ช่วยเหลือตนเองในการทาการเกษตรในช่วงประสบภัยแล้งและขาดแคลนน้ำ ดังนั้น ภาครัฐควรสนับสนุนช่วยเหลือในสิ่งที่เกษตรกรยังไม่สามารถแก้ไขได้ คือ จัดตั้งศูนย์บริการน้ำบาดาลประจาตำบล เพื่อรองรับการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรแก่เกษตรกรต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำบาดาลth_TH
dc.subjectการจัดการน้ำth_TH
dc.titleการส่งเสริมการใช้น้ำบาดาลเพื่อการเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดอ่างทองth_TH
dc.title.alternativeExtension of ground water for agriculture of farmers in Ang Thong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the extension needs for groundwater usage and extension guidelines for groundwater usage in agriculture of farmers in Ang Thong province. The population of this research was 120 farmers who used groundwater for agriculture in Ang Thong province. Data was collected by conducting interview-which consisted of 1) basic personal attributes, economic and social conditions of farmers 2) groundwater usage conditions for agriculture 3) groundwater usage extension for agriculture and 4) problems and suggestions in the usage of groundwater of farmers. Data was analyzed by using statistics such as percentage, mean, and standard deviation. The summary results of the research, overall, revealed that farmers wanted to receive the extension in the use of groundwater at the high level. When considering the aspect level, it showed that farmers wanted to receive support in groundwater usage for agriculture from government sector along with the agricultural product marketing extension, and the application of information technology to access news and information or knowledge regarding groundwater easier. The use of groundwater for agriculture was one of the choices that farmers could help themselves in performing agriculture during draught season and lack of water, hence, the government sector should assist in the topics that farmers could not solve that was the establishment of sub-district groundwater service center to later support the extension and transfer of the agricultural technology for farmers.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons