Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5631
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฎฐพร จิระวัฒนากูล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-26T08:34:08Z-
dc.date.available2023-04-26T08:34:08Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5631-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ (1) การบริหารจัดการ (2) ปัญหา และ (3) แนวทางการเสริมสร้างการบริหารจัดการของสำนักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ตาม แนวทางทศพิธราชธรรม ทั้งนี้ได้นำ การบริหารจัดการตามแนวทางทศพิธราชธรรม 10 ด้านมาเป็น กรอบแนวคิด ได้แก่ ทาน ศีล บริจาค ความซื่อตรง ความอ่อนโยน ความเพียร ความไม่โกรธ ความไม่เบียดเบียน ความอดทน และ ความเที่ยงธรรม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบเพื่อหา ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.90 กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนใน เขตพื่นที่ของสำนักงานเขตราชเทวีจำนวน 1,100 คน กลุ่มตัวอย่างดังกล่าวนี้ได้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งเก็บรวบรวมกลับมาได้ 1,050 คน คิดเป็นร้อยละ 95.50 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (1,100 คน) ใน การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมกลับมานั้นได้ใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับสถิติที่นำมาใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิชัยปรากฎว่า (1) กสุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า สำนักงานเขตราช เทวีมีการบริหารจัดการตามแนวทางทศพิธราชธรรมสูง (2) ส่วนปัญหาสำคัญ คือ สำนักงานเขต ราชเทวีจัดแบ่งอำนาจหน้าที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ บางหน่วยงานมีภารถิจมาก แต่จำนวนข้าราชการมี น้อย ทำให้ไม่เพียงพอต่อการให้บริการประชาชน และ (3) สำหรับแนวทางการเสริมสร้างการ บริหารจัดการของที่สำคัญ คือ สำนักงานเขตราชเทวีควรให้ความสำคัญกับแนวทางการเสริมสร้าง การบริหารจัดการตามแนวทางทศพิธราชธรรมเพื่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้บริหารทุกระดับควรให้ ความสำคัญกับการบริหารจัดการตามแนวทางทศพิธราชธรรมในทุกด้าน และผู้บริหารควรทำตัว เป็นแบบอย่างที่ดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.155-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร--การบริหาร--แง่ศีลธรรมจรรยาth_TH
dc.subjectทศพิธราชธรรมth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารจัดการของสำนักงานเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ตามแนวทางทศพิธราชธรรมth_TH
dc.title.alternativeThe analysis on management administration according to the Ten Perfections Guideline of the Office of Ratchathewi District, Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.155-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the management administration, (2) problems, and (3) supporting guidelines on the management administration of Ratchathewi District Office, Bangkok Metropolitan Administration according to the Ten Perfections Guideline. The conceptual framework was applied consisted 10 factors: charity, morality, donation, honesty, gentleness, assiduity, no hard feeling, no exploitation, tolerance, and uprightness. This research was a survey research with questionnaire. The questionnaire was tested for validity and reliability at level of 0.90. Samplings were 1,100 people inhabited in areas of the Ratchathewi District. The questionnaires were gathered back at the amount of 1,050 (95.50%) of the whole samplings (1,100). Computer was used for data analysis. Statistics applied for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The result of the research revealed that (1) the samples agreed at the medium level that the management administration of the Office of Ratchathewi District according to the Ten Perfections Guideline was at the high level; (2) the major problem was the improper division of authority, including, some sections were overloaded, but not enough personnel to service to people; and (3) the main supporting guideline on the management administration of Ratchathewi District Office was to pay more attention to promote management administration according to the Ten Perfections Guideline at all levels. The executive should also act as a good modelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108608.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons