Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5815
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สายสุนีย์ สายวังกิจ, 2525- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-03T07:04:08Z | - |
dc.date.available | 2023-05-03T07:04:08Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5815 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร)) --มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยนอกฤดู 2) สภาพการผลิตลำไยนอกฤดูของเกษตรกร 3) การตัดสินใจในการผลิตลำไยนอกฤดูของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยนอกฤดู 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการตัดสินใจการผลิตลำไยนอกฤดู ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรมากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 53.72 ปี มีจำนวนสมาชิกในครอบครัวที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 2.19 คน ระดับการศึกษาสูงสุดคือประถมศึกษา เกษตรกรมากกว่าสองในสามประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มีประสบการณ์ในการผลิตลำไยนอกฤดูเฉลี่ย 4.64 ปี แรงงานที่ใช้ในการผลิตลำไยนอกฤดูเฉลี่ย 3.15 คน เกษตรกรมากกว่าสองในสามมีรายได้จากการผลิตลำไยนอกฤดูประมาณ 50,000 บาทต่อไร่และมีต้นทุนในการผลิตลำไยนอกฤดูประมาณ 10,000 บาทต่อไร่ 2) เกษตรส่วนใหญ่มีการปฏิบัติสมํ่าเสมอตามขั้นตอนการผลิตลำไยนอกฤดูทั้ง 4 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมต้น การชักนำการออกดอก การดูแลรักษาเพื่อให้ผลผลิตได้คุณภาพ และการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว 3) ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตลำไยนอกฤดูของเกษตรกรพบว่า ด้านเศรษฐกิจเป็นปัจจัยเกี่ยวข้องในระดับมากที่สุดในการตัดสินใจในการผลิตลำไยนอกฤดูของเกษตรกร ส่วนด้านกายภาพ ด้านสังคม และด้านเทคนิคเกี่ยวข้องในระดับมาก 4) เกษตรกรมีปัญหาด้านเศรษฐกิจในระดับมาก ส่วนปัญหาด้านปัจจัยทางด้านกายภาพ ปัญหาด้านปัจจัยทางด้านเทคนิค และด้านสังคมนั้นอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในระดับมากที่สุด 2 ประเด็น ได้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีการอบรมถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการทำลำไยนอกฤดูและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จในการผลิตลำไยนอกฤ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.220 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ลำไย--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--ลำพน--การตัดสินใจ. | th_TH |
dc.title | การตัดสินใจผลิตลำไยนอกฤดูของเกษตรกรผู้ปลูกลำไยในจังหวัดลำพูน | th_TH |
dc.title.alternative | Decision making of off-season longan production by famers in Lamphun Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2015.220 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study 1) social and economic fundamental state of Longan farmers who produced off-season Longan in Lamphun Province; 2) the state of their off-season Longan production; 3) their decision making of off-season Longan production; and 4) their problems and suggestions on their decision making of off-season Longan production. The population in this study was 6,061 Longan farmers. The sample size was determined by Yamane formula. 152 samples were selected by simple random sampling methodology. The data were collected by interviewing the studied farmers using structured interview form. The statistical methodology used to analyze the data by computer programs were frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, and Mode The findings of this study were as follows: 1) more than a half of the studied farmers were male. Their average age was 53.72 years. Their average number of household member was 2.19 persons. They were educated at primary level. More than two-thirds of them were a farmer. They were mostly a member of a farmer group and the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives. The average period of their experience in off-season Longan production was 4.64 years. The average number of their labor in off-season Longan production was 3.15 persons. More than two-thirds of them had income and cost of off-season Longan production at 50,000 baht/rai and 10,000 baht/rai respectively. 2) most of the studied farmers practiced regularly adhering to the 4 steps of off-season Longan production, these were preparing their plants, making them blossomed earlier, looking after their plants in order to get quality produce, and harvesting and practicing after harvesting. 3) it was found that factors relating to their decision making of off-season Longan production at the highest level were in economic aspect, while the factors relating to their decision making at high level were in physical, social, and technical aspect. And 4) the studied farmers had problems in economic aspect at high level, while their problems in physical, technical, and social aspect were at medium level. They had suggestions at the highest level in 2 issues, these were related sectors should have set training courses to transfer them knowledge of off-season Longan production, and should have set field studies in the area that were successful in off-season Longan production. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
152380.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License