Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorโกวิน วิวัฒนพงศ์พันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรุณา วิชาพูล, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T06:39:50Z-
dc.date.available2022-08-13T06:39:50Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/582-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะส่วนบุคคลของข้าราชการทหารอากาศที่มารับบริการ 2) ระดับความพึงพอใจ ในระบบบริการจากข้าราชการทหารอากาศที่มารับบริการ 3) เปรียบเทียบความพึงพอใจ ระหว่างข้าราชการทหารอากาศชั้นสัญญาบัตร และชั้นประทวนที่มารับบริการ 4) ปัญหา และข้อเสนอแนะในระบบบริการจากข้าราชการทหารอากาศที่มารับบริการ ประชากร ได้แก่ ข้าราชการทหารอากาศที่มารับบริการตรวจสุขภาพและสมรรถภาพ ที่กองเวชศาสตร์ป้องกันฯ จำนวน 26,338 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 394 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญในช่วงเวลาเดือนมีนาคม ถึงเมษายน พ.ศ. 2555 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.985 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่มีลักษณะดังนี้ เป็นเพศชายมีอายุระหว่าง 40-49 ปี ภูมิลำเนาอยู่ จ.กรุงเทพมหานคร สถานภาพสมรสคู่ วุฒิการศึกษาระดับปรญญาตรี เป็นข้าราชการชั้นประทวน ชั้นยศพันจ่าอากาศเอกพิเศษ-พันจ่าอากาศเอก สังกัด สำนักงานผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง อายุราชการ 20-29 ปี รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท และมารับบริการตรวจโรคประจำปี 2) ความพึงพอใจของข้าราชการทหารอากาศที่มารับบริการต่อการให้บริการทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ด้านบุคลากรที่ให้บริการด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก ของกองเวชศาสตร์ป้องกันฯ พบว่า ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน 3) การเปรียบเทียบความพึงพอใจ พบว่า ข้าราชการทหารอากาศชั้นสัญญาบัตร และข้าราชการทหารอากาศชั้นประทวนที่มารับบริการที่กองเวชศาสตร์ป้องกันฯ มีความพึงพอใจในแต่ละด้านไม่แตกต่างกัน 4) ปัญหาและ ข้อเสนอแนะในการให้บริการที่พบ ได้แก่ ที่จอดรถไม่เพียงพอ ขั้นตอนการรับบริการเจาะเลือดช้า เจ้าหน้าที่ห้องเจาะเลือดและทันตกรรมมีจำนวนไม่เพียงพอ ส่วนแนวทางในการปรับปรุงศักยภาพการบริการของกองเวชศาสตร์ป้องกันฯ ให้ดีขึ้น คือ การปรับปรุงการบริการที่ผู้มารับบริการให้ความสำคัญ เช่น ควรเพิ่มจำนวนบุคลากรให้เพียงพอ ระยะเวลาในการรับบริการควรให้รวดเร็วขึ้น เพิ่มสถานที่จอดรถ เป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.131-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมแพทย์ทหารเรือ. กองเวชศาสตร์ป้องกัน --บริการทางการแพทย์th_TH
dc.subjectกรมแพทย์ทหารเรือ--ข้าราชการ--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์--ไทยth_TH
dc.titleความพึงพอใจของข้าราชการทหารอากาศชั้นสัญญาบัตร และประทวนต่อการให้บริการทางการแพทย์ของกองเวชศาสตร์ป้องกัน กรมแพทย์ทหารอากาศth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction of Royal Thai Air Force commissioned and non-commissioned officers with medical services managed by the division of reventive medicine, directorate of medical services, Royal Thai Air Forceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.131-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were: 1) to study personal characteristics of the Royal Thai Air Force (RTAF) officers who had received medical services; 2) to determine the levels of satisfaction of the RTAF officers with the services; 3) to compare the RTAF commissioned officers’ and non-commissioned officers’ satisfaction with the services; and 4) to identify problems in the Division's service system and to make suggestions for service improvement accordingly to the clients' opinions. Out of all 29,338 RTAF officers who had come for medical services managed by the Division, 394 were accidental sampling selected as respondents under this study conducted from March to April 2012. The research instrument was a questionnaire with the reliability value of 0.985. Data were analyzed to determine percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test. The result revealed that: 1) most respondents were males, 41-49 years of age, residents of Bangkok, married, bachelor’s degree holders, non-commissioned officers, Senior Flight Sergeant to Flight Sergeant ranks, worked in the service of Office of Donmuang RTAF Base Commander, 20-29 years serving in services, average monthly income of 20,001-30,000 baht; and had come for the annual physical checkups; 2) theirs satisfaction levels were high with the three service aspects: service process, service providers, and premises as well as facilities; 3) the satisfaction levels of commissioned officers and non-commissioned officers with the services were not statistically different; and 4) the problems encountered included inadequate parking area, delays in phlebotomy services, and inadequate staff for phlebotomy and dental services. It is recommended that the service capacity of the RTAF’s Division of Preventive Medicine, Directorate of Medical Services should be improved by deploying an adequate number of service providers, eliminating service delays, and increasing parking areasen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128838.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons