Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์th_TH
dc.contributor.authorวรรณดี มัยยะth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T03:19:29Z-
dc.date.available2023-05-08T03:19:29Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5852en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ สิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมของ องค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยประชากรที่ศึกษาเป็นประชาชนขององค์การบริหารส่วน ตำบลในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาได้แก่ คณะผู้บริหาร พนักงานส่วนตำบล และประชาชนผู้มารับบริการจากองค์การบริหารส่วนตำบล 16 แห่ง จำนวน 384 คน เครื่องมีอที่ใช้เก็บข้อมูลเป็น แบบสอบถาม โดยมีค่าความตรงและความน่าเชื่อถือเท่ากับ 0.67 และ 0.97 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การทดสอบเอฟ่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชบ้างเป็นบางครั้ง (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการ สิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลได้แก่ ร่วมในการปฏิบัติตามแผน ร่วมรับผลประโยชน์ ร่วมในการตรวจสอบและติดตามประเมินผล ร่วมในการเลือกแนวทางและวางแผน ร่วมในการค้นหาปัญหา สาเหตุ และร่วมในการกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาโดยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดด้อม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลำดับ (3) สำหรับปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมได้แก่ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามแผน การมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ การพัฒนาการตรวจสอบและติดดามประเมินผล การมีส่วนร่วมในการเลือกแนวทางและการวางแผน การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหา สาเหตุ และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.389en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การจัดการ--แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อม--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativePeople's participation in environment management of sub-district administrative organizations in Pak Phanang District, Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.389-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.389en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study level of people’s participation in environment management of sub-district administrative organizations in Pak Phanang District , Nakhon Si Thammarat Province (2) study the factors affecting people’s participation in environment management of sub-district administrative organizations in Pak Phanang District , Nakhon Si Thammarat Province (3) study problems and barriers of people’s participation in environment management of sub-district administrative organizations in Pak Phanang District, Nakhon Si Thammarat Province. This study was a survey research. Population was the people of Pak Phanang District, Nakhon Si Thammarat Province. Samples were executive teams, sub-districts’ personnel, and civilians who received services delivered by 16 sub-district administrative organizations in Pak Phanang District, totally 384. Instrument used was questionnaire with .67 level of validity and .97 level of reliability. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, one way analysis of variance, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient, and Multiple Regression. Research result revealed that (1) people participated in environment management only sometimes (2) factors affecting people’s participation were participation in plan implementation, participation in benefits gained, participation in monitoring and evaluating, participation in choosing appropriate approach and planning, participation in searching of problems and their causes together with considering the solutions, respectively; all of which had positive relations with people’s participation in environment management at 0.05 level of significance; (3) problems and barriers were participation in plan implementation, participation in benefits gained, monitoring and evaluating development, and participation in choosing appropriate approach and planning.en_US
dc.contributor.coadvisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัยth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108621.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons