Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5884
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | กรณิการ์ พรณะศรี | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-09T03:20:59Z | - |
dc.date.available | 2023-05-09T03:20:59Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5884 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคดะวันออก (2) ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตรในแต่ละจังหวัดในเขตภาคตะวันออก (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก (4) ศึกษาแนวทางในการสร้างผลสัมฤทธิ์ ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ ข้าราชการและพนักงานราชการ ในสังกัดสำนักงานเกษตรจังหวัด และสำนักงานเกษตรอำเภอในเขตภาคตะวันออก 9 จังหวัด คือ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราชจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ และสระแก้ว จำนวน 822 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่นำมาศึกษาในครั้งนี้จำนวน 400 คน และเครื่องมือที่ใชัในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 และสัมภาษณ์ผู้บริหารของสำนักงานเกษตรจังหวัดในเขตภาคตะวันออก ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ โดยวิธีขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออกอยู่ในระดับไม่เกินร้อยละ 70 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไวั (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออกในแต่ละจังหวัดแตกต่างกันซึ่งสอคคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไวั (3) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออกพบว่าปัจจัยด้านกระบวนทัศน์วัฒนธรรมและค่านิยมในการทำงาน ปัจจัยด้านการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ปัจจัยด้านการบริหารกิจการบัานเมืองที่ดี และปัจจัยด้านสมรรถนะ มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) แนวทางในการสร้างผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านงบประมาณการโอนงบประมาณ บุคลากรมีจำนวนที่สอดคล้องกับภารกิจ มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ และคุณธรรม บุคลากรมีแรงจูงใจ รวมทั้งศักยภาพของพื้นที่และเกษตรกรที่มีความเหมาะสมสำหรับข้อเสนอแนะผู้วิจัยมีความเห็นว่าควรเน้นการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ควรปรับปรุงด้านบริหารบุคคลมีการพัฒนาบุคลากร สร้างแรงจูงใจ ผู้บริหารควรมีภาวะผู้นำ ควรมีการบริหารเชิงกลยุทธ์ในหน่วยงานและมีทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.471 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กรมส่งเสริมการเกษตร--ข้าราชการและพนักงาน | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the operation achievement of Department of Agricultural Extension Officers in Eastern Area | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.471 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.471 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the study were to (1) investigate the operation achievement of agricultural extension officers in East Region, (2) compare the operation achievement of agricultural extension officers in each province in East Region (3) study the factors affecting the achievement of agricultural extension officers in East Region, and (4) find out the guideline of operation achievement of agricultural extension officers in East Regions. The research was a survey research. Population included 822 government officers and staff of Agricultural Provincial Office and Agricultural District of 9 provinces in the East Region as followings : Chanthaburi, Chachoengsao, Chon Buri, Trat, Nakhon Nayok, Prachin Buri, Rayong, Samut Prakan and Sa Kaeo. Samples were 400 officers and staff. Instrument used were questionnaire with 0.96 level of reliability, and in-depth interview forms for the executives. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression. The research result revealed that (1) level of operation achievement of officers and staff in East Region was not higher than 70% which rejected the hypothesis, (2) the operation achievements of the officers and staff in each province were different which supporting the hypothesis, (3) the analysis of the relationship between factors and achievements in the operation of the officers and staff revealed that paradigm factors, cultures, officers’ operational value, result based management factors, good governance factors, and competency factors positively affected the operation achievements of government officers and staff of Department of Agricultural Extension in East Region with .05 level of significance, (4) The processes to reach achievement in operation of government officers of Department of Agricultural extension in East Region were administration, budget, budget transfer, quantity of personnel in conformity with the duty, process between related sectors, administrator with vision and moral, inspired personnel included potential of appropriate area and agriculturists, the researcher’s suggestion were: result-based management should be emphasized, together with the improvement in human resource management, personnel should be developed and motivated, executives should possess leadership competency, strategic management should be applied and positive work attitude should be instilled. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดุสิต เวชกิจ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
108669.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License