Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพิบูลศิลป์ วัฑฒนะพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมัทนา แสงจินดาวงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัฒนา คงวัฒนานนท์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T07:09:35Z-
dc.date.available2022-08-13T07:09:35Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/589-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาและศึกษาพัฒนาการของเนื้อหา “วารสารการประมง”ประชากรคือ“วารสารการประมง”ปืที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มีนาคม พ.ศ.2491 ถึงปีที่ 60 ฉบับที่ 6 เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ.2550 จำนวน 294 ฉบับ รวม 2,905 บทความเครึ๋องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวิเคราะห์เนื้อหา ใช้สถิติเชิงพรรณนา ด้วยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ และคำนวณหาสมการเส้นแนวโน้ม โดยวิเคราะห์ความชัน พิจารณาการเปลี่ยนแปลงของค่าตัวแปรตามต่อหนึ่งหน่วยของตัวแปรต้นและหาค่าสัมประสิทธิ์ของการตัดสินใจผลการวิจัยพบว่า (1) บทความ“วารสารการประมง”ส่วนใหญ่มีจำนวนผู้เขียน 1 คน ผู้เขียนส่วนใหญ่สังกัดกรมประมง เป็นบทความภาษาไทย รูปแบบบทความวิชาการเรียบเรียง เนื้อหาด้านการเพาะปลูกในน้ำ ไม่มีการอ้างอิง บทความที่มีการอ้างอิงมีจำนวนรายการอ้างอิง 1-5 รายการ รายการอ้างอิงส่วนใหญ่เป็นบทความวารสาร (2) “วารสารการประมง” มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในด้านผู้เขียนบทความ บทความที่มีจำนวนผู้เขียน 2 คน และจำนวนผู้เขียน 3 คน ผู้เขียนสังกัดกรมประมง เป็นบทความภาษาไทย รูปแบบบทความวิจัยและบทความสัมภาษณ์ เนื้อหาด้านการเพาะปลูกในน้ำ มีการอ้างอิง และรายการอ้างอิงประเภทวารสารภาษาอังกฤษ หนังสือกาษาอังกฤษ เอกสารวิชาการภาษาไทยหนังสือภาษาไทยและวารสารภาษาไทย “วารสารการประมง” มีแนวโน้มลดลงในด้านรูปแบบบทความวิชาการเรียบเรียง และมีแนวโน้มไม่ชัดเจนในด้านผู้เขียนบทความ จำนวนผู้เขียน 1 คน จำนวนผู้เขียนมากกว่า 3 คน และไม่ระบุชื่อผู้เขียน ผู้เขียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ภาษาที่ใช้ในบทความทั้งบทความภาษาไทยและบทความภาษาอังกฤษรูปแบบบทความทั่วไป บทความวิชาการแปล บทความปริทัศน์และบทความบรรยาย สัมมนาหรืออภิปราย เนื้อหาของบทความด้านการประมงทั่วไป การทำประมง ผลิตภัณฑ์ประมง ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางน้ำและสาขาวิชาอื่น บทความไม่มีการอ้างอิง และจำนวนรายการอ้างอิงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth_TH
dc.subjectประมง--วารสารth_TH
dc.subjectการอ้างถึงทางบรรณานุกรมth_TH
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหา "วารสารการประมง"th_TH
dc.title.alternativeA content analysis of "Thai Fisheries Gazette"th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 10 analyze content of “Thai Fisheries Gazette” and study the development and trends in the content of the gazette based on 294 issues with a total of 2,905 articles published between 1948-2007. A content analysis form was used as the research tool. Quantitative data was analyzed using frequencies, percentage, trend line equation and coefficient of determination. The results showed that: (1) Most contents of “Thai Fisheries Gazette” were articles written by 1 person. Most authors were Fisheries Department officers. Most articles were written in Thai language and in an academic written format. Most topics were related to aquaculture and there were no references. Those with references listed 1-5 items most of which were journal articles. (2) The trend in the content of the gazette was an increase in the number of articles written by 2 persons and by 3 persons, and articles written by Fisheries Department officers. Most of them tended to be written in Thai, in the form of research articles and interview articles. 1 hen- contents tended to be related to aquaculture. In terms of references, there tended to be more referenced articles that listed English journals. English books. Thai technical papers. Thai books and Thai journals as reference sources. Another trend in the content of the gazette was a decrease in the number of written academic articles. No clear trend was detected in the number of authors either written by 1 person, by more than 3 persons and by anonymous; authors from the Ministry of Education; language either Thai articles and English articles; type of articles either general articles, translated academic articles, review articles, descriptive, seminar or discussion articles; content either articles related to fisheries, fishing, fisheries products, aquatic biology and ecology and other disciplines: and references cither articles with no references and number of reference sourcesen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (5).pdfเอกสารฉบับเต็ม9.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons