Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5901
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนัฐนรา ราตรี, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T02:04:46Z-
dc.date.available2023-05-10T02:04:46Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5901-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และ 2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตาม อายุ เพศ สถานภาพ และประสบการณ์ทำงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2563 จำนวน 108 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซีและมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนอนุบาลเอกชน มีค่าความเที่ยง .87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดีทุกด้าน และ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตาม อายุ เพศ สถานภาพ และประสบการณ์ทำงาน พบว่า ไม่แตกต่างกันทั้งในภาพรวมและรายด้าน ยกเว้นด้านความสำเร็จในการทำงาน พบว่า ครูเพศหญิงและเพศชายมีคุณภาพชีวิตด้านความสำเร็จในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูเพศชายมีความสำเร็จในการทำงานสูงกว่าเพศหญิง และด้านความก้าวหน้าในการทำงาน พบว่าครูที่มีสถานภาพโสดมีความก้าวหน้าในการทำงานสูงกว่าครูที่มีสถานภาพสมรสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนอนุบาลเอกชนจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe work life quality of private kindergarten teachers in Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study the work life quality of private kindergarten teachers in Surat Thani Province; and 2) to compare the work life quality of private kindergarten teachers in Surat Thani Province, classified by age, sex, status and work experience. The sample consisted of 108 teachers in private kindergarten teachers in Surat Thani Province during the 2020 academic year. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table and the sample was obtained by using simple random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on the work life quality of private kindergarten teachers with reliability coefficients of .87. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and one-way analysis of variance. The research results showed that: 1) the overall and by-aspect work life quality of private kindergarten teachers in Surat Thani Province were rated at the good level ; and 2) the results of comparison of work life quality of private kindergarten teachers in Surat Thani Province classified by age, gender, status and working experience were not significantly different in both overall and each aspect, except for the success at work, it was found that female and male teachers had a statistically significant difference in quality of life on success at work aspect at a statistical significance of .05, with male teachers having higher success at work than female teachers and on progress in work aspect, teachers with single status having higher progress in work than teachers at a statistical significance of .05en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons