กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5953
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบth_TH
dc.contributor.authorสุรวุฒิ พงศ์ทัศนะธาดาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-12T06:24:44Z-
dc.date.available2023-05-12T06:24:44Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5953-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของตำรวจตระเวนชายแดนในพื้นที่กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 3 (2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของตำรวจตระเวนชายแดนในพื้นที่กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 3 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ(3) เพื่อศึกษาแนวทางเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของตำรวจตระเวนชายแดนในพื้นที่กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 3 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือ ข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดกองบังคับการ ตำรวจตระเวนชายแดนภาค 3 ซึ่งมีพื้นที่ปฏิบัติงานใน ภาคเหนือ จำนวนทั้งสิ้น 4.579 คน ใช้ วิธีการเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 370 คน เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที แบบเอฟ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์รายคู่แบบเชฟ่เฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ตำรวจตระเวนชายแดนสังกัดกองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดนภาค 3 มีระดับความผูกพันต่อองค์การโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ประเภทงาน และรายได้ มีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 (3) แนวทางการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การได้แก่ ผู้บังคับบัญชาทุก ระดับควรให้ความสำคัญกับสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่ทั่วถึง เป็นธรรม และปลูกฝัง ความคิด อุดมการณ์ ความสามัคคีให้ตำรวจตระเวนชายแดนรุ่นใหม่ ให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ ความภักดี ต่อองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectตำรวจตระเวนชายแดนth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของตำรวจตระเวณชายแดน : ศึกษาเฉพาะกรณีพื้นที่กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 3th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of border patrol polices : a case study of Regional Border Patrol Police Division 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to ; (1) study the level of organizational commitment of border patrol police officers at Border Patrol Police Division 3 ; (2) compare the organizational commitment of border patrol police officers at Border Patrol Police Division 3, categorized by personal criteria ; and (3) study the approach to enhance organizational commitment of border patrol police officers at Border Patrol Police Division 3. Population in this research was border patrol police officers of Border Patrol Police Division 3, responsible for the operation in Northern part of the country, totally 4,579 officers. 370 samples was randomized by proportional stratified sampling method. Instrument used was a questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test. and Cheffe - doubled analysis. The findings of the study were as follows: (1) the overall organizational commitment of border patrol police officers was at high level ; (2) personal factors including gender, type of job, and income were related to the organizational commitment at the .05 level of significance ; and (3) guidelines for enhancing organizational commitment were that the provisions for the enhancement of the new border patrol polices’ awareness of social welfares and privileges, as well as ideological harmonies be needed for their organizational prides and royalties.en_US
dc.contributor.coadvisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
108688.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.96 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons