Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐิติกาญจน์ อนุวารีพงษ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-12T08:00:44Z-
dc.date.available2023-05-12T08:00:44Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5966-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลของ ผู้บังคับบัญชาระดับชั้นต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และ (2) ศึกษาระดับความมีประสิทธิผล ของรูปแบบภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาระดับชั้นต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กลุ่มตัวอย่างที่ใช์ในการวิจัยประกอบด้วยผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงานในระดับชั้น ต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเป็นจำนวน 361 นาย ซึ่งหาได้จากจากตารางสำเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan โดยที่ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามซึ่งค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.752 สถิติที่ใช์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ไต้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t- Test, F-test, Multiple Regression และ ANOVA ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันจะส่งผลต่อระดับประสิทธิผลของการ บังคับบัญชาในรูปแบบภาวะผู้นำต่างๆ แตกต่างกันและพบว่า (1) รูปแบบภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชา ระดับชั้นต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าที่ทำให้การปฎิบัติงานประสบผลสำเร็จได้แก่ภาวะผู้นำ แบบทางสายกลางและภาวะผู้นำแบบทีมงาน ในขณะเดียวกันก็ไม่แน่ใจว่า ภาวะผู้นำแบบชุมนุมสังสรรค์ จะทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ ตรงกันข้ามภาวะผู้นำแบบมุ่งแต่งานและภาวะผู้นำแบบเฉื่อยงาน จะไม่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ (2) รูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลต่อการบังคับบัญชาของ ผู้บังคับบัญชาระดับต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในระดับมากได้แก่ รูปแบบภาวะผู้นำแบบ ทีมงานและแบบทางสายกลาง รูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลต่อการบังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชา ระดับต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในระดับปานกลาง ไต้แก่ รูปแบบภาวะผู้นำแบบมุ่งแต่งานและ แบบชุมนุมสังสรรค์สำหรับรูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลต่อการบังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชาระดับ ต่างๆ ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในระดับน้อยได้แก่ รูปแบบภาวะผู้นำแบบเฉื่อยงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลพระมงกุฎth_TH
dc.subjectผู้บังคับบัญชาth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleรูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลของผู้บังคับบัญชาระดับชั้นต่าง ๆ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าth_TH
dc.title.alternativeLeadership styles that have effectiveness of the commander of Phramongkutklao Army Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) leadership styles that have the effect of Phramongkutklao Army Hospital. (2) Study the effect level of leadership format of immediate the commander of Phramongkutklao Army Hospital The research sample totaling 361 persons consisted of the commander of the Phramongkutklao Army Hospital which get from the table of Krcjcie and Morgan , by multi- stage random sampling. The instrument used for data collection was a rating-scale questionnaire developed by the researcher, concerning leadership and administration effectiveness with reliability coefficients of 0.752 and 0.88 respectively. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test,F-test,regession and ANOVA. The findings were as follow ; personal factor will different affect to effectiveness level of commanding in leadership all different styles (1) leadership styles that have the effect of an immediate superior , of Phramongkutklao Army Hospital, Middle of the road Management will make work practice has topmost effect, next be like Team Management .meanwhile , as a result, be not sure that the Country-Club management will congregate associate make work practice succeeds opposite the Impoverished Management and Task Management sluggish the work will don't make work practice succeeds.(2) the effect of an immediate superior who has the behaviors in about the leadership in middle of the road management and like team management will tall more in other styles, that the effect, in the average is Country-Club management and Task Management, and have no the effect in commanding is Impoverished Managementen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108691.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons