Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธโสจร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.contributor.authorมานพ ศรีผ่อง, 2514--
dc.date.accessioned2022-08-13T08:25:07Z-
dc.date.available2022-08-13T08:25:07Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/605-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพความร่วมมือการทำกิจการร่วมกันของ องค์การบริหารส่วนตำบล ในพื้นที่อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว (2) ปัจจัยทางการเมืองท้องถิ่น ที่ทำให้เกิดความร่วมมือทำกิจการร่วมกัน ขององค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว (3) บัญหาและอุปสรรค ของความร่วมมือ ทำกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนตำบล ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพความร่วมมือทำกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนตำบล มีความร่วมมือกันแบนหลวม ๆ และไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล (2) ปัจจัยความร่วมมือได้แก่ อำเภอ มีบทนำฐานะ “เจ้าภาพ" ทำให้เกิดความร่วมมือ และผลประโยชห์ทางการเมืองของนักการเมืองท้องถิ่น คือคะแนนเสียง ทางด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเป็นไปในลักษณะของการถูกระดมโดยภาครัฐและการเมืองท้องถิ่น (3) บัญหาความร่วมมือ พบว่ายังไม่มีความเป็นประชาธิปไตยอย่างแก้จริง เนื่องจากภาครัฐเป็นผู้นำ กำหนด กำกับดูแล บังคับบัญชา และสั่งการ ทั้งนี้ การที่ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยผ่านการระดมทางการเมืองภายใต้ระบบอุปภัมภ์ของการเมืองท้องถิ่นส่งผลให้เป็นบัญหาต่อการพัฒนาประชาธิปไตย อุปสรรคสำคัญ คือ ข้อจำกัดของกฎหมายทำให้ความร่วมมือทำกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนตำบล มีความร่วมมือกันแบบหลวม ๆ และไม่มีฐานะเป็นนิติบุคล ดังนั้น รัฐบาล ควรแก้ไขกฎหมายให้องค์การบริหารส่วนตำบลสามารถร่วมมือกันในรูปแบบ สหการ และมีองค์กรตรวจสอบผู้ทำหน้าที่กำกับดูแล สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลโดย จัดตั้งศูนย์ศึกษาการจัดการความร่วมมือขององค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.273-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleการเมืองท้องถิ่นกับความร่วมมือทำกิจการร่วมกันขององค์การบริหารส่วนตำบล : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeLocal politics and cooperative activities among sub-district administrative organizations : a case study of sub-district administrative organizations in Khlong Hat District, Sa Kaeo Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.273-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the situation of cooperative activities among Sub-district Administrative Organizations in Khlong Hat District, Sa Kaeo Province; (2) local political factors that support cooperative activities among the Sub-district Administrative Organizations; and (3) problems with and obstacles to cooperative activities among the Sub-district Administrative Organizations This was a qualitative research. The sample population were local politicians, government officials and the public. The sample consisted of 7 Sub-district Administrative Organizations presidents, 7 chairmen of Sub-district Administrative Organizations councils, I district permanent secretary working as acting sheriff, 1 district local official, 6 Sub-district Administrative Organizations permanent secretaries, and 7 representatives of the local population. Data were collected using interview forms and participatory observation. Data were analyzed qualitatively and presented through descriptive analysis. The results showed that (1) the cooperative activities among Sub-district Administrative Organizations were loosely organized and did not have juristic person status. (2) The major factors that affected the activities were the district in its leading role as “host,” which promoted cooperation; and the political benefits of local politicians in the form of votes; as for public participation, it took the form of mobilization by the government sector and local politicians. (3) The major problem was lack of truly democratic activities because the government agencies directed, designed, supervised, commanded, and managed the activities. People only participated because they were mobilized through the personal obligation system, which is an obstacle to developing democracy. The major obstacle was the limitations of laws that caused cooperative activities among Sub-district Administrative Organizations to be loosely organized without having juristic person status. The law should be changed to allow Sub-district Administrative Organizations to join in cooperation with a governing organization to audit them. Also, a study center should be established to study the management of cooperative activities among Sub-district Administrative Organizations.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118845.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons