Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเยาวภา ติอัชสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorการเวก สงสกุล, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T08:33:02Z-
dc.date.available2022-08-13T08:33:02Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/607-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยสำรวจภาคดัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคล กระบวนการบริหาร และปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงาน (2) การดำเนินงานตามมาตรการหลักป้องกันและควบคุมโรคไข้เสือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลจังหวัดสุพรรณบุรี (3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล กระบวนการบริหาร และปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงานกับการดำเนินงานตามมาตรการหลักป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และ (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ประชากรที่ศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 174 คน โดยศึกษาทุกหน่วยประชากร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา แสดงค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ลักษณะส่วนบุคคลส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 39.94 ปี มีสถานภาพสมรสคู่ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ดำรงตำแหน่งนักวิชาการ อายุราชการเฉลี่ย 18.56 ปี และระยะเวลาที่รับผิดชอบงานเฉลี่ย 12.17 ปี กระบวนการบริหารอยู่ในระดับสูง และปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงานอยู่ในระดับปานกลาง (2) การดำเนินงานตามมาตรหลักป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานตามมาตรหลักป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ กระบวนการบริหารในภาพรวมและรายด้านทุกด้าน และปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงาน (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ได้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขขาดการมีส่วนร่วมกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำแผนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ขาดสื่อสุขศึกษาในการประชาสัมพันธ์ จำนวนบุคลากรและงบประมาณไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรสนับสนุนการฝึกอบรมในการจัดทำแผนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกร่วมกันระหว่างหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับสถานีอนามัย สนับสนุนสื่อสุขศึกษาประชาสัมพันธ์ให้เพียงพอ และจัดสรรบุคลากรรวมทั้งงบประมาณให้เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเจ้าหน้าที่สาธารณสุข--ไทย--สุพรรณบุรีth_TH
dc.subjectไข้เลือดออก--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานตามมาตรการหลักป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the main standard implementation of prevention and control of Dengue Hacmorrhagic Fever among sub-district health personnels in Suphan Buri provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this cross-sectional survey research were to (1) study personal characteristics, management process and performance support factors; (2) study the main standard implementation of Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) among sub-district health personnel in Suphan Buri province; (3) study the relationship between personal characteristics, management process, performance support factors, and the main standard implementation of DHF prevention and control; (4) identify problems/obstacles and suggestions for an implementation. A study population comprised of 174 sub-district health personnel who were responsible for DHF prevention and control in Suphan Buri province. Data were collected by a questionnaire, with its reliability level of 0.95. Descriptive statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, and Pearson’ s Product Moment Correlation Coefficient analysis. The results revealed that most personnel were male, with an average age of 39.94 years, married, having bachelor’s degree, in a technical position, having average civil service tenure of 18.56 years and having average duration in this program 12.17 years; the management process level was high while the level of performance support factor was moderate; (2) the implementation of most sub-district health personnel main standard of prevention and control of DHF was at a high level; (3) the factors that were significantly associated with the main standard implementation of prevention and control of DHF were management process, and performance support factors (p<0.05); (4) problems/obstacles in program operation were that sub-district health personnel have insufficient participation with local Administrative organization in planning for the prevention and control of DHF, insufficient number of media campaigns, insufficient number of health workers, and insufficient budget. Recommendations of this study were that the provincial health office should support DHFprevention and control plan training between the local administrative organizations and sub-district health offices Moreover, adequate health education media, health workers, and budget should be provideden_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118395.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons