Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนาวีรัตน์ จำจด-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-24T03:56:04Z-
dc.date.available2023-05-24T03:56:04Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6145-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractกระแสแนวความคิดในเรึ่องการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ส่งผลให้ส่วนราชการไทย ปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐโดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และมุ่งสรัางวัฒนธรรม ค่านิยม และพฤติกรรมของข้าราชการให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้นเพึ่อเป็นกลไกสำคัญของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ กรมการพัฒนาชุมชนได้นำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติ ดังนั้น จึงทำการวิจัยว่ามีปัจจัยใดที่มี อิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติในหน่วยงานสังกัดส่วนกลางของ กรมการพัฒนาชุมชน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จของการนำหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติในกรมการพัฒนาชุมชน (2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติในกรมการพัฒนาชุมชน (3) ศึกษาจุดแข็ง จุดอ่อนโอกาสและอุปสรรคใน การนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาใช้ในกรมการพัฒนาชุมชน (4) เสนอแนะแนวทางการบริหารงาน ของกรมการพัฒนาชุมชนตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีให้มีประสิทธิภาพต่อไป รูปแบบการวิจัย ใช้การวิจัยเชิงสำรวจ เน้นการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ประกอบด้วย 23 หน่วยงาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ตัวแทนของประชากรในสังกัดส่วนกลางของกรมการพัฒนา ชุมชน จำนวน 255 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ่ และการ วิเคราะห์ถดถอยเชิงพทุแบบขั้นตอน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้กรอบการวิเคราะห์ SWOT ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสำเร็จของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฎิบัติ ของแต่ละหน่วยงานอยู่ในระดับต่ำกว่าร้อยละ 70 ระดับความสำเร็จของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี ไปปฎิบัติของแต่ละหน่วยงานในสังกัดส่วนกลางของกรมการพัฒนาชุมชนมีความแตกต่างกัน (2) ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติในหน่วยงานสังกัดส่วนกลางของ กรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยด้านกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมใหม่ของข้าราชการ “I AM READY” และตัวแปรที่อยู่ในตัวแบบด้านการพัฒนาองค์การของ วรเดช จันทรศร โดยสามารถอธิบายความผัน แปรของตัวแปรตามได้รัอยละ 76.2 (3) จุดแข็ง ที่เสริมให้การนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติ ประสบความสำเร็จ คือ หน่วยงานมีการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปรับใช้ไนการทำงานพัฒนา ชุมชน จุดอ่อน คือ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โอกาส คือ หน่วยงานควรเปิดโอกาสให้ส่วนราชการ ประชาชน และเครึอข่ายเข้ามาร่วมสนับสนุนการนำหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฎิบัติ และอุปสรรค คือ บทบาทภารกิจของหน่วยงานซ้ำซ้อนกับหน่วยงานอื่น (4) จาก ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ควรมีการผลักดันการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติให้ เกิดเป็นรูปธรรมทั้งในส่วนของการวางแผน การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล 2) ควรส่งเสริมการมีส่วน ร่วมในการทำงาน เพื่อจะนำมาซึ่งความสำเร็จในการบริหารงานตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมการพัฒนาชุมชนth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณีกรมการพัฒนาชุมชนในสังกัดส่วนกลางth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the successful implementation of good governance : a case study of Community Development Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe new public management paradigm has resulted in changing of Thai bureaucratic administration and management whereby the good governance principle is adopted that leads to the creation of culture, value and behaviors of officials to higher capability, and that would strengthen the role of government agencies as vital mechanism in the country development. In fact, Community Development Department has already adopted good governance in its operation, so this research was initiated to find out the factors influencing the achievement of good governance adoption in central hierarchical units of Community Development Department. The research objectives were to (1) study the successful level of good governance adoption in Community Development Department (2) study influential factors which enabled the achievement of good governance adoption in Community Development Department (3) study the strengths, weaknesses, opportunities and threats in adoption of good governance in the Community Development Department and (4) recommend administrative guideline to Community Development Department to operate efficiently in accordance with good governance principle. The research was a survey research, quantitatively and qualitatively. Population consisted of 23 organizations, sample group was representative of population from central hierarchical units of Community Development Department., totally 255 samples. Instruments used were questionnaire and interview. Statistical tools employed were percentage, means, standard deviation, t - test, F - test, stepwise multiple regression, and SWOT analysis to analyze qualitative data. Research findings indicated that (1) successful level of good governance adoption in each units was lower than 70 percent, successful levels of good governance adoption in each central hierarchical units of Community Development Department were different (2) factors influencing the achievement of good governance adoption in Community Development Department's central hierarchical units were motivation factor, paradigm and culture factor, the officials’ new value of “ I am ready” and the variables from Woradet Chanthasom’s organization development pattern which could explain the variable’s variance at 76.2 percent (3) the strengths that reinforced the success of adoption of good governance principle were the adoption of good governance principle in community development operation, the weakness was lack of knowledge and understanding on good governance principle of personnel, the opportunity was that the organization should provide the opportunities to government agencies, civilians, and network to participate in the adoption of the good governance, the threats were the duplication of units’ mission and role with other units. (4) From the research result, the recommendations were 1) the adoption of good governance should be compelled so consequently the principles were concrete in planning, operation, and evaluation activities 2) operational participation should be encouraged so the success of the administration according to good governance principle would be achieveden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109983.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons