Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorสุทัศน์ สังข์ศรีทวงษ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-24T06:17:39Z-
dc.date.available2023-05-24T06:17:39Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6149en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) สภาพการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัว (2) ปัญหาการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัว และ (3) แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัว สำนักงานศาลยุติธรรม ทั้งนี้โดยใช้ 11M เปืนกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้ง ผ่านการหาความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.91 สำหรับกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วประเทศ รวม 1,200 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามเริ่มตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม 2551 ถึง วันที่ 5 ธันวาคม 2551 ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 1,128 ชุดคิดเป็นร้อยละ 94.0 ของแบบสอบถามที่แจกไปทั้งหมด สถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) การบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัวมีประสิทธิภาพสูง (2) ปัญหาที่สำคัญคือ การวางแผนและการปฏิบัติตามแผนเพื่อแก้ไขปัญหาของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัวยังขาดความเข้มงวดและต่อเนื่องและ (3) แนวทางการปรับปรุงที่สำคัญคือควรให้ความสำคัญกับการวางแผน การนำแผนไปปฏิบัติ และการประเมินผลอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.250en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัว--การบริหารth_TH
dc.titleการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาของสำนักงานประจำศาลเยาวชนและครอบครัว สำนักงานศาลยุติธรรมth_TH
dc.title.alternativeManagement administration for resolving the problems of Office of Juvenile and Family Court, Office of the Judiciaryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.250-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.250en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to (1) the situations of management administration for resolving the problems of the Office of Juvenile and Family Court, (2) the problems of management administration for resolving the problems of the Office of Juvenile and Family Court, and (3) the improvement of management administration guidelines for resolving the problems of the Office of Juvenile and Family Court, Office of the Judiciary. The conceptual framework of 11M was applied to this study. This study was a survey research using questionnaire which was pre-tested and checked for validity, including reliability at level of 0.91. The samples of 1,200 were government officers and permanent employees of the Office of Juvenile and Family Court. The field data was collected during October 13,2008 to December 5,2008. 1,128 or 94.00% of total questionnaires distributed were gathered back. Percentage, mean, standard deviation, and t-test were employed as statistical tools for data analysis. The study results showed that (1) the capacities of management administration for resolving the problems of the Office of Juvenile and Family Court were high; (2) the important problem was the lacks of strict and regular planning and implementation for resolving the problems of the Office of Juvenile and Family Court; and (3) the important improvement guideline was the Office should perform strict and regular planning, implementation, and evaluation.en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกล่ำth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109984.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons