Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/623
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จริยาภรณ์ สวัสดิ์พูน | - |
dc.contributor.author | เนาวนิตย์ สงคราม | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-14T14:08:46Z | - |
dc.date.available | 2022-08-14T14:08:46Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 191-204 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/623 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความมุ่งมั่นในการทำงานก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออปโดยใช้เครื่องมือการจัดการงาน และ 2) เปรียบเทียบความมุ่งมั่นในการทำงานหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออปโดยใช้เครื่องมือการจัดการงาน กับนักเรียนกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออป กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 54 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนสิงหวิทยาคม อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ แบ่งเป็น 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 27 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออปโดยใช้เครื่องมือการจัดการงาน และแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออป (2) เครื่องมือการจัดการงาน (3) แบบวัดความมุ่งมั่นในการทำงาน และ (4) แบบสังเกตพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออปโดยใช้เครื่องมือการจัดการงานมีคะแนนเฉลี่ยของความมุ่งมั่นในการทำงานก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนทั้ง 2 กลุ่มมีคะแนนเฉลี่ยของความมุ่งมั่นในการทำงานหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออปโดยใช้เครื่องมือการจัดการงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 อยู่ในระดับดี | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | การเรียนรู้แบบร่วมมือกัน | th_TH |
dc.title | ผลการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคโคออปโคออปโดยใช้เครื่องมือการจัดการงานที่มีต่อความมุ่งมั่นในการทำงานสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of the Co-op Co-op Techniques using task management tools on commitment to work of lower Secondary School Students | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were 1) to compare the levels of commitment to work of students before and after learning with the Co-op Co-op techniques using task management tools, and 2) to compare the levels of commitment to work of students after learning with the Co-op Co-op techniques using task management tools and those after learning with the Co-op Co-op techniques. The samples comprised 54 Mathayom Suksa 2 students of Singhawittayakom School, Nang Rong district, Buri Ram province, studying in the second semester of the 2018 academic year, obtained by multistage random sampling. These students were then divided into 2 groups of 27 students in each. The research instruments included (1) learning management plans based on the Co-op Co-op techniques using task management tools and learning management plans based on the Co-op Co-op techniques, (2) task management tools, (3) a questionnaire on commitment to work, and (4) an observation form for assessing commitment to work behaviors. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results revealed that 1) the average scores of commitment to work of students before and after learning with the Co-op Co-op techniques using task management tools were different at the .05 level of statistical significance, 2) the average scores of commitment to work after learning of the students in both groups were different at the .05 level of statistical significance, and 3) the average score of work commitment behaviors of the students learning with the Co-op Co-op techniques using task management tools was 4.25, indicating a good level | en_US |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License