Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภณิดา มาประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญสนอง สมวงศ์, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-29T08:32:03Z-
dc.date.available2023-05-29T08:32:03Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6267-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียนของ นักเรียนที่เรียนแบบมี โดยคนิคสแดด และ (2) เพื่อศึกษาทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียน ที่เรียนแบบร่วมมือโดยเทคนิคสแตดกลุ่มตัวอย่าง อนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2547 โรงเรียน ปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 24 คน โดยวิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบประเมินทักษะการทำงานร่วมกันของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคสแดดสูงกว่าก่อนเรียน และ (2) นักเรียนมีทักษะการทำงานร่วมกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำงานกลุ่มในการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลของการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคสแตดที่มีต่อทักษะการทำงานร่วมกัน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of the cooperative learning approach with Stad Technique on group work skills and learning achievement in Thai economic problems topic of Mathayom Suksa VI students at Pak Chong School in Nakhon Ratchasima provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_83900.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons