Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ยth_TH
dc.contributor.authorรัตนา นวีภาพ, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T00:59:49Z-
dc.date.available2023-06-13T00:59:49Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6364en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างเครื่องมือประเมินตามสภาพจริง รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (งานเกษตร) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือประเมินตามสภาพจริง รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (งานเกษตร) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกาญจนภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 130 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความรู้ ด้านทักษะปฏิบัติ และด้านคุณลักษณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ มีการตรวจสอบคุณภาพรายข้อด้านความยาก อำนาจจำแนก และตรวจสอบคุณภาพทั้งฉบับด้านความตรง โดยการหาค่าความสอดคล้องของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และตรวจสอบความเที่ยงของแบบทดสอบจากการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาร์ค และความเที่ยงของเกณฑ์การให้คะแนนระหว่างผู้ตรวจ 2 คนจากสูตรสัมประสิทธิ์ สัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า (1) การสร้างเครื่องมือประเมินตามสภาพจริงของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (งานเกษตร) สำหรับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 2 ได้เครื่องมือที่มีคุณภาพดังนี้ คือเครื่องมือประเมินด้านความรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 60 ข้อ แบบทดสอบย่อยแบบถูก-ผิด และ แบบทดสอบแบบจับคู่จำนวนฉบับละ 10 ข้อ แบบทดสอบแบบอัตนัย 2 ข้อ แบบประเมินการคิดจำนวน 3 ข้อ และแบบประเมินการทำชิ้นงานการสรุปองค์ความรู้แบบแผนผังความคิด เครื่องมือประเมินด้านทักษะปฏิบัติ ได้แก่แบบวัดทักษะปฏิบัติและแบบประเมิน การทำโครงงาน เครื่องมือวัดคุณลักษณะ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน และแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน กลุ่มเครื่องมือสะท้อนการจัดการเรียนการสอนของครู และเครื่องมือสะท้อนการทำโครงงานของนักเรียนจำนวน 3 ฉบับ และ (2) การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือประเมินตามสภาพจริงประเภทแบบทดสอบมีความยากรายข้อระหว่าง 0.28 - 0.80 มีอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง 0.20-0.83 ค่าความเที่ยงทั้งฉบับระหว่าง 0.80-0.97 การตรวจสอบคุณภาพทั้งฉบับของเครื่องมือทั้งหมดมีความตรงอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 แบบประเมินชั้นงานการสรุปองค์ความรู้แบบแผนผังความคิดแบบ วัดทักษะปฏิบัติ และแบบประเมินโครงงานมีความเที่ยงระหว่าง 0.73-0.95 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนและแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มมีความเที่ยงเท่ากับ 0-78 และ 0.72 แบบสะท้อนความคิดเห็นทั้ง 4 ฉบับมีความเที่ยงเท่ากับ 0.78,0.75,0.55 และ 0.52th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.192en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการงานและอาชีพ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สุพรรณบุรีth_TH
dc.subjectการประเมินตามสภาพจริงth_TH
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือประเมินตามสภาพจริงรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (งานเกษตร) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of authentic assessment instruments in the career and technology 2 (agriculture) course for Mathayom Suksa II students of Kanchanaphisek Witthayalai school in Suphan Buri provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (I) make Instrument for authentic assessment on Vocational Education and Technology for Mathayom Suksa 2 Student, kanchanapisekwittayalai Suphanburi School. (2) Develop Instrument for authentic assessment on Vocational Education and Technology for Mathayom Suksa 2 Student, kanchanapisekwittayalai Suphanburi School. The research sample consisted of 130 Mathayom Suksa 2 student in the 2009 academic year, obtained by cluster random sampling. The developed research instrument was knowledge skills, practical skills and personal skills. Quality of the instrument was verified by finding its content validity, difficulty indices, discriminating indices, and reliability. Research findings were as follows: (1) Authentic assessment instruments developed in this study included instruments assessing knowledge consisting of a 60-item achievement test, a 10-items true-false test, 10-item matching test. 2 essay tests, 3-item thinking skill assessment, and the rubric scoring mind mapping report; performance assessment instruments consisting of a performance assessment test and a project assessment tool; and affective domain instruments consisting a behavior checklist, a team working checklist, a classroom teaching reflection tool, and three project reflection tools. (2) Developed authentic assessment instruments had varied difficulty indices ranging from 0.28-0.80, and item discrimination indices ranging from .20-.83. The reliability coefficients ranged from 0.80-0.97. The content validity evidences as measured by IOC ranged from 0.80-1.00. The reliability coefficients for the rubric scoring mind mapping report, performance assessment instruments, and project assessment tool ranged from 0.73-0.95. The reliability coefficients for the behavior checklist, team-working checklist were 0.78 and 0.72, respectively. The reliability coefficients for the 4 developed reflection assessments were 0.78, 0.75.0.55 and 0.52en_US
dc.contributor.coadvisorนลินี ณ นครth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119081.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons