Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/642
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมทรง อินสว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | โกวิทย์ อุตตบุญ, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T02:12:31Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T02:12:31Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/642 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | กาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการใช้นํ้ากากส่าที่ผ่านการบำบัดด้วยระบบยูเอเอสบีจากโรงงานสุรากับการใช้ปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน (2) หาอัตราส่วนที่เหมาะสมของการใช้นํ้ากากส่าที่ผ่านระบบยูเอเอสบีจากโรงงานสุราต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน การวิจัยเป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองประกอบด้วย 5 แปลงทดดอง แปลงที่ไม่ใส่ปุยเคมี แปลงที่ใส่น้ำกากส่าอัตราส่วน 20, 40 และ 80 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ และแปลงที่ใส่ปุยเคมี เมล็ดข้าวโพดที่ใช้เป็นพันธ์ซุปเปอร์สวีทปุ๋ยเคมีใช้สูตร 15-15-15 และสูตร 46-0-0 สังเกตการเจริญเติบโต และบันทึกความสูงของข้าวโพดเมื่ออายุ 15, 25 และ 60 วัน เมื่อเก็บเกี่ยวได้บันทึกความสูง จำนวนฝักที่เก็บเกี่ยวได้ทั้งหมดในแปลงย่อย จำนวน และนํ้าหนักฝักก่อนปอกเปลือก จำนวนและน้ำหนักฝักหลังปอกเปลือก และจำนวนฝักที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของโรงงาน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ข้าวโพดฝักอ่อนในแปลงทึ่ใม่ใส่ทั้งปุ๋ยเคมีและน้ำกากส่า เจริญเติบโตตํ่ากว่าแปลงที่ใส่นํ้ากากส่าที่ผ่านระบบยูเอเอสบีและแปลงที่ใส่ปุ๋ยเคมี และเมื่อเปรียบเทียบกันระหว่างแปลงที่ใส่นํ้ากากส่ากับแปลงที่ใส่ปุ๋ยเคมีพบว่า การเจริญเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (2) อัตราส่วนการใส่น้ำกากส่าที่ต่างกันไม่มีผลทำให้การเจริญเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.288 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.title | ประสิทธิภาพของน้ำกากส่าที่ผ่านระบบยูเอเอสบีจากโรงงานสุราต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน | th_TH |
dc.title.alternative | Efficiency of slop from UASB system of distillery to the growth of baby corn | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2004.288 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were ะ (1) to compare between the efficiency of slop from UASB system of distillery and chemical fertilizer to growth of baby com; and (2) to find the appropriate ratio of slop from UASB system of distillery to growth of baby corn. This was a qua-experimental research with five experimental plots including plot without slop and chemical fertilizer, plots with 20,40 and 80 cubic meters per rai of slop from UASB and plot chemical fertilizer. The seed of baby corn used was Super Sweet. The formula of chemical fertilizer was 15-15-15 and 46-0-0. Growth of baby corn was observed and height at 15, 25 and 60 days was also recorded. At harvest time, weight, numbers of ears in each plot, number and weight of unhusked ears, number and weight of husked ears and number of standard ears were recorded. Statistics used for data analysis was percentage, mean, standard deviation, and analysis of variance. The research findings were: (1) growth of baby corn in plot without slop and chemical fertilizer was lower than those with slop and chemical fertilizer. Compared between plots with slop and with chemical fertilizer, growth of baby corn in plots with slop was not statistically significant different from that of chemical fertilizer and (2) the difference ratios of slop did not caused statistically significant difference to growth of baby com | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศริศักดิ์ สุนทรไชย | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ศักดา ศรีนิเวศน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License