Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาพร จรา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-15T04:07:53Z-
dc.date.available2023-06-15T04:07:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6443-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจ และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วน ประสมการตลาดกับการตัดสินใจ การวิจัยเชิงสำรวจนี้ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การตัดสินใจซื้อของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงสถานภาพ สมรสโสด ศึกษาระดับปริญญาตรีอายุระหว่าง 20-29 ปี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชนมีรายได้ตํ่ากว่า 10,000 บาท จะตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมในกลุ่มบำรุงสุขภาพ เพราะคุณภาพของสินค้า (2) ปัจจัย ส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์มีความสำคัญต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ (3) งบประมาณในการซื้อ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมในแต่ละครั้งเป็นปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศไม่มีความสัมพันธ์กับการ ตัดสินใจซื้อ และ (4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อคือด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการจัดจำหน่ายมีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และส่วนประสมการตลาดด้านราคาและด้านการส่งเสริมการตลาดมี ความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อด้านความบ่อยครั้งของการซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากสถานที่จำหน่าย ต่างๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.298-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาหารเสริม--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectผู้บริโภคth_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors determining purchasing supplement food products among consumers in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.298-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study,(1) determination of purchasing supplement food products among consumers in Bangkok metropolis,(2) marketing mix factor the affecting determination,(3) interaction between personal factors and the determination, and (4) interaction between marketing mix factors and the determination This survey research was conducted 400 people living in Bangkok Metropolis by using a questionnaire as research tool. The data analysis was percentages, means, standard deviations and chi - square The results of the study were as follows: (1) Most samples were unmarried women, graduated with Bachelor degree age, between 20 - 29 years old. They were staffs in private companies and earnest income less than 10,000 baht. They was purchasing supplement food products as dietary nourishment products because of product quality; (2) Marketing mix factors of products are essential for determination; (3) Allowance for each purchasing was personal factors that showed interaction with the determination except gender at the 0.05 level; and the (4) marketing mix factors interaction with determination related to products and sale showed interaction with reasons for the determination at the 0.05 level whereas price and promotion showed interaction with the determination of purchasing frequency at various supermarkets at the 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110144.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons