Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรสลิน ศิริยะพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorศิธา เธียรถาวร, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T02:27:55Z-
dc.date.available2022-08-17T02:27:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/644-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะของความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ระหว่างสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่มีต่อการเมืองท้องถิ่น กรณีเทศบาลนครลำปาง และ (2) ผลกระทบที่เกิดจากความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีต่อการเมืองท้องถิ่น กรณีเทศบาลนครลำปาง ผลการวิจัยพบว่า (1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์กับการเมืองท้องถิ่น ในประเด็นการเข้าสู่อำนาจของนักการเมืองท้องถิ่น และการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในลักษณะการให้เงินทุนเพื่อใช้จ่าย ใช้ฐานเสียงสนับสมุนการเสือกตั้ง และให้คำปรึกษาการดำเนินงานท้องถิ่น (2) ลักษณะของความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ระหว่าง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีต่อเทศบาลนครลำปาง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเข้าสู่อำนาจของนักการเมืองท้องถิ่นเพราะทำให้เกิดความเสียงในการซื้อเสียง และใช้เงินในการหาเสียงเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด แต่ไม่เกิดผลกระทบต่อการคำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และท้องถิ่น เพราะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่ได้เข้าไปแทรกแซงโดยตรงการคำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ห้องถิ่นจึงเป็นอิสระth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลนครลำปางth_TH
dc.subjectสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทยth_TH
dc.titleความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีต่อการเมืองท้องถิ่น : ศึกษากรณีเทศบาลนครลำปางth_TH
dc.title.alternativePatronage relationship between the member of parliament and local politics : a case study of Lampang City Municipalityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis were to study (1) the characteristic of patronage relationships between Member of Parliament and local politics in Lampang City Municipality; and (2) the impact of patronage relationships and local politics. The major findings were as follow (1) There was patronage relationships between Member of Parliament and local politics; in the aspect of coming into power of local politicians and the operation of Local Administrative Organization in term of fund contribution, supporting electoral vote and counsel to the local operation. (2) The patronage relationships between Member of Parliament and local politics affected the coming into power of local politicians since this lead to vote-buying risk and using money over legal limitation. However, this patronage relationships did not affect the operation of Local Administrative Organization and local because there is no direct interfere Then, the Local Administrative Organization and local was independently operate.en_US
dc.contributor.coadvisorรุ่งพงษ์ ชัยนามth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114930.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons