Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/645
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปีติ พูนไชยศรี | th_TH |
dc.contributor.author | โกศัย พลานนท์, 2502- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T02:33:56Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T02:33:56Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/645 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเป็นการศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดในการนำตะกอนและน้ำมันจากบ่อแยกไขมันของโรงงานผลิตขวดแก้วกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ใหม่ ภายในโรงงานแหล่งกำเนิด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความเหมาะสมในการนำตะกอนกลับไปใช้เป็นวัตถุดิบใหม่ (2) ความเหมาะสมในการนำน้ำมันไปใช้เป็นเชื้อเพลิง (3) ศึกษามูลค่าจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดดังกล่าว การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ใช้เวลารวบรวมกลุ่มตัวอย่าง คือ ตะกอน และน้ำมันในบ่อแยกไขมัน เป็นระยะเวลา 4 เดือน นำตัวอย่างมาวิเคราะห์หาปริมาณการเกิดตะกอนและน้ำมันเทียบกับปริมาณการผลิตแก้ว และปริมาณของน้ำเสีย และนำตะกอนมาวิเคราะห์ส่วนประกอบเคมีและขนาดของตะกอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ X-Ray Spectrometer เครื่องวัดความชื้นและเครื่องชั่ง ในการศึกษาได้ดำเนินการป้อนตะกอนเป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตขวดแก้ว ร่วมกับวัตถุดิบอื่นๆ โดยใช้กระบวนการผลิตตามปกติของโรงงาน ได้แก่ กระบวนการผสมวัตถุดิบ กระบวนการหลอมแก้ว กระบวนการขึ้นรูปขวดแก้ว กระบวนการตรวจสอบคุณภาพขวดแก้วของโรงงาน และดำเนินการป้อนน้ำมันผสมกับน้ำมันเตาในถังเก็บน้ำมัน ป้อนน้ำมันเชื้อเพลิงผสม เข้าสู่กระบวนการเผาไหม้ในเตาหลอมของโรงงาน และตรวจวัดอากาศเสียที่ระบายออกจากปล่องควันเตาหลอม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติทดสอบที่ทดสอบสมมุติฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ตะกอนมีส่วนประกอบของ Fe,O สูง ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นวัตถุดิบแก้วสีขาวแต่สามารถใช้ได้สำหรับการผลิตแก้วสีชา ในอัตราส่วนร้อยละ 3 ขวดแก้วที่ผลิตได้ทั้งคุณภาพและประสิทธิภาพการผลิต ยังอยู่ในมาตรฐานของโรงงาน (2) น้ำมัน มีค่าความร้อนจําเพาะสูง มีกำมะถัน และเถ้า เหมาะที่จะป้อนผสมไปกับน้ำมันเตา ในอัตราส่วนร้อยละ 3.5 ของปริมาณการใช้ คุณภาพอากาศเสียที่ระบายออกปล่องไอเสีย อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ปล่อยออกได้ตามกฎหมาย (3) การนำตะกอนและน้ำมันกลับมาใช้ใหม่ จากการเก็บตัวอย่าง 4 เดือน มีมูลค่า 391,100 บาท หรือ 1,173,300 บาท/ปี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.419 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ของเสียจากโรงงาน--การนำกลับมาใช้ใหม่ | th_TH |
dc.subject | การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ | th_TH |
dc.title | การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดเพื่อนำตะกอนและไขมันจากบ่อแยกไขมันในระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานผลิตขวดแก้วกลับมาใช้ใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Implementation of cleaner technology for the recycle of sludge and oil from oil-water separator pit in wastewater treatment system of a container glass factory | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.419 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was study to implement cleaner Technology for recycle sludge and oil from oil-water separator pit of container glass factory inside of generative factory. The purpose of this study for (1) The fitting for recycle sludge was raw material of container glass again (2) The fitting for recycle oil was fuel oil in glass furnace (3) The evaluation of There implement cleaner technology. This research was a quasi-experiment with a 4 months period for collection samples were sludge and oil in oil-water separator pit These samples were analyzed generative amounts of sludge and oil compare with container glass production out puts and amounts of waste water, and sludge was analyzed chemical composition, grain size, moisture which instruments were x-ray spectrometer, moisture analyzer and weighting scale. The study were fed sludge as a raw materials for produce container glass together with other raw materials by used normal production process of factory i.e. raw materials mixing process, glass melting process, glass forming process, container glass quality control process and were fed oil to mixed with heavy fuel oil in storage tank, mix fuel oil were fed to combustion process in glass furnace of factory and to examined. Waste gas from furnace stack, the statistics were percentage, mean and t-test for hypothesis test. The results of research showed that (D sludge had high composition of FCJOJ should not be use as raw material for produce flint glass but it can use for produce amber glass at ratio 3 percent the quality and yield of container glass production were in standards of factory (D oil had high gross heat of combustion, low sulphur and ash content, then fed to mix with heavy fuel oil at ratio 3.5 percent of total fuel oil consumption the quality of waste gas emitted from furnace stack was in standard of waste gas for emission according to emission regulations (D The recycle of these sludge and oil from oil-water separator pit with 4 months sample collection were value 391,100 baht or 1,173,300 baht per year | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปราโมช เชี่ยวชาญ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
108737.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License