Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6464
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา ภัสสรศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | สุคนธ์ อนุไพร, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-16T06:42:54Z | - |
dc.date.available | 2023-06-16T06:42:54Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6464 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยม ศึกษา (2) ประสิทธิผลการบริหารคุณภาพสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารคุณภาพสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยองกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง จำนวน 304 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายจากประชากรจำนวน 1,450 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบวัดภาวะผู้นำของบาสและ อโวลิโอ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การทดสอบสมมติฐานใช้ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง ใช้ภาวะผู้นำ แบบแลกเปลี่ยนในระดับปานกลาง และแบบเปลี่ยนสภาพในระดับมาก (2) สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยองที่ได้รับการประเมินภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีประสิทธิผลการบริหารคุณภาพอยู่ในระดับดีมากด้านผู้บริหาร และอยู่ในระดับดีด้านผู้เรียน และด้านผู้สอน และ (3) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาแบบเปลี่ยนสภาพมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารคุณภาพด้านผู้เรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.293 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงเรียน--การบริหาร--ไทย--ระยอง | th_TH |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารคุณภาพสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดระยอง | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between school administrators leadership and quality management effectiveness of secondary schools in Rayong province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study (1) the leadership of secondary school administrators; (2) the effectiveness of quality management of secondary schools; and (3) the relationship between school administrator’s leadership and quality management effectiveness of secondary schools in Rayong province. The research sample consisted of 304 secondary school administrators randomly selected from the population of 1,450 secondary school administrators in Rayong province. The employed research instrument was the Leadership Assessment Scale developed by Bass and Avolio. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The .05 level of statistical significance was pre-determined for hypothesis testing. Research findings showed that (1) secondary school administrators practiced the transactional leadership style at the moderate level and the transformational leadership style at the high level; (2) the effectiveness levels of secondary schools in Rayong province that were externally evaluated by the Office for National Education Standards and Quality Assessment (ONESQA) were at the very high level in the aspect of the administrator, and at the high level in the aspects of learners and teachers; and (3) the school administrator’s transformational leadership style significantly correlated with effectiveness of quality management in the learners aspect at the .05 level | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สังวรณ์ งัดกระโทก | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
127952.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License