Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorปฐมพงศ์ อินต๊ะแสนth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T06:19:59Z-
dc.date.available2023-06-19T06:19:59Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6500en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตคถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) ศักยภาพในการบริหารจัดการของกองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ปัญหาการบริหารจัดการของกองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานคร และ (3) แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารจัดการของกองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ได้นำ แพ็มส-โพสคอร์บ มาใช้เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิชัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบรวมทั้งผ่านการทดสอบหาความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.89 กลุ่มตัวอย่าง คือ นายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวนของกองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานคร รวม 1,141 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2551 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2551 เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 1,026 ชุด คิดเป็นร้อยละ 89.92 ของกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที นอกจากนี้ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า (1) กองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานครมีศักยภาพสูงในการบริหารจัดการด้านนโยบาย (2) ปัญหาการบริหารจัดการที่สำคัญคือกองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานครรวมอำนาจหนัาที่ไวัที่ผู้บริหารระดับสูง และ (3) แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพในการบริหาร จัดการ ที่สำคัญคือ กองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานครควรสนับสนุนให้ข้าราชการปฏิบัติงานด้วยความชี่อสัตย์สุจริต และเสียสละ เพิ่มมากขึ้น โดยควรปลูกฝังคุณธรรมแก่ข้าราชการอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.342en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทัพเรือ--การบริหารth_TH
dc.titleการเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารจัดการของกองทัพเรือในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativePromotion of management administration potentials of the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.342-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.342en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study (1) management administration potentials of the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolis; (2) problems of management administration potentials of the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolis; and (3) promotion guidelines of management administration potentials of the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolis. The conceptual framework of PAMS-POSDCoRB was applied in this study. This study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were pre-tested, including validity and reliability checked at 0.89 level. 1,141 sample groups divided into commissioned officers and noncommissioned officers of the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolis. The field data was collected between August 1, to September 30, 2008 at the amount of 1,026. equal to 89.92% of total samples. Statistics used for data analysis were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The in-dept interview of experts was also applied. The study results showed that (1) the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolis performed high potentials of management administration in terms of policy; (2) the important management administration problem was the centralization of authorities at the high- level executives; and (3) the important promotion of management administration potentials of the Royal Thai Navy in Bangkok Metropolis was to increasingly encourage the officers' performances of honesty and sacrifice by establishing continuously morality to officers .en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกลํ่าth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110372.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons