Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขนิษฐา สมาธิ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T07:31:48Z-
dc.date.available2023-06-19T07:31:48Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6512en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง (2) ศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง และ(3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง จานวน 226 คนได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารและแบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 และ .94 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) บทบาทของผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรังในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับ ดังนี้ ผู้กำกับติดตามผล ผู้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผู้จัดสรรทรัพยากร ผู้นำองค์การ ผู้แก้ไขปัญหา และผู้ประสานงาน (2) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดตรัง ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงตามลาดับ ดังนี้ ความรับผิดชอบ ความสาเร็จจากการทางาน ความก้าวหน้าในการทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน สภาพแวดล้อมการทางาน และเงินเดือนหรือค่าตอบแทน และ (3) บทบาทของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กันเชิงบวกกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรัง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก -- ไทย -- ตรังth_TH
dc.subjectผู้บริหารth_TH
dc.subjectครู -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูศูนย์พัฒนาการเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeRelationship between administrator's role and teacher's job satisfaction in child development centers under local administrative organizations in Trang Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to study administrator’s role in child development centers under local administrative organizations in Trang province; (2) to study teacher’s job satisfaction in child development centers under local administrative organizations in Trang province; and (3) to study relationship between administrator’s role and teacher’s job satisfaction in child development centers under local administrative organizations in Trang province. The sample consisted of 226 teachers in child development centers under local administrative organizations in Trang province, obtained by simple random sampling. The instrument used for collecting data was a rating scale questionnaire concerning administrator’s role and teacher’s job satisfaction, with reliability coefficients of .93 and .94 respectively. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation and Pearson’s correlation coefficient. The findings of the study indicated that: (1) the overall and by-aspect levels of administrator’s role in child development centers under local administrative organizations in Trang province were rated at the high level and could be ranked as follows: the monitoring and follow-up role, the information dissemination role, the resource allocation role, the organizational leadership role, the problem solving role, and the coordination role, respectively; (2) the overall and by-aspect levels of teacher’s job satisfaction in child development centers under local administrative organizations in Trang province were rated at the high level and could be ranked as follows: the satisfaction with responsibility, the satisfaction with achievement, the satisfaction with job advancement, the satisfaction with relationship with the supervisor and colleagues, the satisfaction with work environment, and the satisfaction with salary or remuneration, respectively; and (3) the administrator’s role correlated positively and significantly at the .01 level with teacher’s job satisfaction in child development centers under local administrative organizations in Trang provinceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153031.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons