Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคำนัย บุตรจันทร์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T03:55:34Z-
dc.date.available2022-08-17T03:55:34Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/658-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการทิ้งขยะลงถังของประชาชน (2) ศึกษาปัจจัยทางด้านบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยทางด้านการรับรู้ทัศนคติของประชาชน (4) ศึกษาปัจจัยด้านการบริหารจัดการของเทศบาล และ (5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล การรับรู้ทัศนคติของประชาชน การบริหารจัดการของเทศบาลกับพฤติกรรมการทิ้งขยะลงถังของประชาชน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้งนี้ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบล และเทศบาลตำบล 3 แห่งในจังหวัดยโสธร โดยสุ่มตัวอย่างประชาชนโดยบังเอิญตามกลุ่มที่กำหนด จำนวนรวม 400 คน และสุ่มจากเทศบาล 3 แห่ง โดยการจับฉลากจากกลุ่มเทศบาล 3 ระดับ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ประชาชนทั่วไป และแบบสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญของเทศบาล แบบสัมภาษณ์มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .83 และ .89 สำหรับแบบสัมภาษณ์ประชาชนทั่วไป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนมีพฤติกรรมการทิ้งขยะลงถังร้อยละ 80.75 (2) ปัจจัยส่วนบุคคลประกอบ ปัจจัยด้านเพศ เป็น เพศชาย ร้อยละ 43.5 เพศหญิง ร้อยละ 56.5 มีอายุ เฉลี่ย 32.87 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 13.36 ระดับการศึกษา ส่วนมาก (ร้อยละ 81.3) ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี มีอาชีพแยกเป็นไม่ได้ประกอบอาชีพ (ร้อยละ 7) รับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ร้อยละ 18) รับจ้าง (ร้อยละ 22) เกษตรกร (ร้อยละ 21.5) และค้าขาย (ร้อยละ 31) รายได้ เฉลี่ย 6,166.82 บาท ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน เฉลี่ย 25.56 ปี การรับรู้ข่าวสาร แยกเป็นรับรู้ 1 ช่องทาง รับรู้ 2 ช่องทางและรับรู้มากกว่า 2 ช่องทาง และลักษณะที่อยู่อาศัยของประชาชน แยกเป็นบ้านชั้นเดียว (ร้อยละ 53.8) และบ้านสองชั้น (ร้อยละ 38.80) (3) การรับรู้ทัศนคติของประชาชนอยู่ในระดับดี (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการของเทศบาลส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง และ (5) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการทิ้งขยะลงถังของประชาชน ได้แก่ เพศ การศึกษา ช่องทางการรับรู้ข่าวสาร และการบริหารจัดการของเทศบาล ที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.217-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการกำจัดขยะth_TH
dc.subjectขยะ--การจัดการth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการทิ้งขยะลงถังของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลในจังหวัดยโสธรth_TH
dc.title.alternativeFactors associated with people's behavior in garbage disposal into bins in sub-district Municipalities of Yasothon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.217-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were to: (1) study behavior of population; (2) study behavior of population; (3) study factors of attitude of population: (4) study factor of administration of sub-district municipalities; and (5) examine relationships between personal factor, perception and attitude, and municipal administration with people’s behavior in garbage disposal into bins. The study population comprised 2 groups including municipalities and people residing in the respective municipalities. There were 400 samples using accidental randomization technique among each resident group and 3 municipalities randomly selected by drawing method from each municipal group. The research instruments were interview questionnaires for both groups with 0.83 and 0.89 reliability coefficients on interview questionnaire for the resident group. Statistic used for research data analysis were percentage, standard deviation. Chi-square test. The research findings show that: (1) 80.75 percent of the peoples disposed garbage into bins; (2) personal factors composed of gender ( 43.5% male and 56.5% female), an average age of 32.87 years (ร.D.= 13.36). education having been mostly educated below bachelor’s degree level (81.3%). career with no career (7%), in government and state enterprises services (18%), general services (22%). as farmers (21.5%). and as merchants (7%),the average of income was 6.166.82 Baht period of residency in municipalities with an average duration of 25.56 years information were acquired through 1,2 and more communication channels, and house being single floor (53.8%), and two floor (38.8%) types; (3) perception and attitude factors were at good level; (4) municipal administration were at moderate level; (5) factors that related to garbage disposal were gender, education, information acquisition channel, and municipal administration at statistical significant level of .05en_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101774.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons