Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบรรเลง สำเนากลาง, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T06:59:20Z-
dc.date.available2023-06-21T06:59:20Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6621-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงามฝ่ายผลิต โรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา (2) ศึกษาปัจจัยลักษณะบุคคลที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา (3) ศึกษาปัจจัยลักษณะทางการบริหาร ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่าย ผลิตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเขิงเทรา และ (4) เสนอแนวทางในการ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา ในการวิจัยครั้งนใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในโรงพิมพ์และบรรจุ ภัณฑ์ชนิดอ่อน จำนวน 286 คน ที่สุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง พรรณนา ได้แก่ ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว ผลการศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา อยู่ในระดับปานกลาง (2) ในด้านลักษณะบุคคลของพนักงานฝ่าย ผลตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่แตกต่างกันมความเห็นเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในภาพรวมไม่แตกต่างกัน (3) พนักงานฝ่ายผลิตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขต นิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่รับรู้ปัจจัยลักษณะการบริหารที่แตกต่างกันใมระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งในเรื่องโครงสร้างขององค์การ นโยบายการบริหารองค์การ ความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การ ติดต่อสื่อสารภายในองค์การ ความสัมพันธ์ภายในองค์การ ความสัมพันธ์ของผู้ปฏิบัติงานต่อผู้บริหาร รวมทั้งด้าน ความรู้ความสามารถและทักษะของพนักงาน และความผูกพันต่อองค์การที่ไม่ต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว้ จึงมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จำกัด จำนวน 95 คน บริษัท ทีพีเอ็น ฟู๊ดแพค จำกัด จำนวน 48 คน บริษัท ไดอิชิแพทเกจจิ้ง จำกัด จำนวน 95 คน และบริษัท ทั่งฮั่วซิน จำกัด จำนวน 48 คน และ (4) แนวทางในด้านการบริหารของผู้บริหารต้องมุ่งเน้นไปที่การจัดฝึกอบรมพนักงานเพิ่ม ทักษะและให้ความรู้เพราะอายุงานพนักงานส่วนใหญ่ต่ำกว่า 1 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ชนิดอ่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting performance efficiency of operational employees in flexible packaging department in the Industrial Estate in Chachoengsao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) study the level of performance efficiency of operational employees in flexible packaging department in the Industry Estate in Chachoengsoa province, (2) study the factors affecting efficiency performance of employees in flexible of packaging in the Industry Estate in Chachoengsoa Province; (3) study administrative factors affecting performance efficiency of employees in flexible packaging department in the Industry Estate in Chachoengsoa Province; and (4) recortrmend guidelines for enhancing performance efficiency of employees in flexible packaging department in the Industry Estate in Chachoengsoa Province. The research method was survey research. The samples of 286 employees in flexible packaging department in the Industry Estate in Chachoengsoa Province were studied by using stratified by random sampling approach. The instrument used was a questionnaire. Statistical tools employed for descriptive statistical analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and one - way ANOVA. The results were: (1) the level of efficiency performance of the employees was at the moderate level; (2) the personal characteristics of the employees did not affect performance; (3) the administrative factors of the employees were recognized the difference at 0.05 significance level including company's organization, company’s policy, readiness of information technology, internal communication of the company, internal relationship of employees, relationship between operational employees and administrators, knowledge and skill of. the employees, and commitment to company not agree with the assumption effecting to the performance of the employees of which did TPN Flexpak of 95 persons, the company’s TPN Foodpak of 48 persons, the company’s Dai-ichi Packaging of 95 persons and the company’s Thung Huasin of 48 persons; (4) guidelines in administration of the administrators were enhancement of training among employees to improve their skill and knowledge because most employees worked less than a yearen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124754.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons