Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/663
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธงวิไล กันทะสอน, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T06:45:35Z-
dc.date.available2022-08-17T06:45:35Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/663-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการเสริมสร้างพลังอํานาจ ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่าง (2) ระดับการบริหาร ความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาล โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่าง (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอํานาจของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความปลอดภัย ในระบบการบริการพยาบาลโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพยาบาลวิชาชีพในระดับปริญญาตรีขึ้นไป ในสังกัดฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 155 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ตอนคือ ข้อมูลส่วนบุคคล การเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วย และการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาล แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาและวิเคราะห์หาความเที่ยง โดยใช้สัมประสิทธ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามตอนที่ 2 และตอนที่ 3 เท่ากับ 0.96, 0.96 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่างอยู่ในระดับมาก (2) ระดับการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาล โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่างอยู่ในระดับมาก (3) การเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง (r=.73) กับความปลอดภัยในระบบการบริการพยาบาลโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่าง อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุข--ไทยth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับการบริหารความปลอดภัยในระบบบริการพยาบาลโรงพยาบาลทุติยภูมิในเขตภาคเหนือตอนล่างth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between the empowerment of head nurses and safety management of nursing service system in secondary care hospital, the Lower North regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study the empowerment of head nurses in secondary care hospital (2) to investigate the safety management of nursing service system in secondary care hospital (3) to determine the relationship between the empowerment of head nurses and safety management of nursing service system. This study was conducted in secondary care hospital, the lower north region. One hundred and fifty five professional nurses whose work at secondary care hospital, the lower north region were selected by stratified random sampling technique. Research tools were questionnaires including three parts: (1) demographic data (2) empowerment of head nurses and (3) the safety management of nursing service system. These tools were tested for content validity. The Cronbach’s alpha coefficients of the second and third part were .96 and .96 respectively. Statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product- moment correlation coefficient. The results were as follows. (1) The empowerment of head nurses in secondary care hospital, lower north region at the high level. (2) They also rated the safety management of nursing service system at the high level. Finally, (3) there was a statistically significant positive relationship at high level between the empowerment of head nurses and safety management of nursing service system in secondary care hospital, the lower north region. (r = .73, p < .01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 153699.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons