Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวดี กิจเดช, 2531- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T08:14:18Z-
dc.date.available2023-06-21T08:14:18Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6646-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (2) เปรียบเทียบระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ บุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 595 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 240 คน โดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า (1) บุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับปานกลางทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการฝึกอบรม ด้านการบริหารความรู้ และด้านการศึกษาตามลำดับ (2) บุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มี อายุ ระยะเวลาปฏิบัติราชการ ตำแหน่งบุคลากร ต่างกันมีระดับความคิดเห็นต่อการดำเนินการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มี 3 ประการ ได้แก่ ส่งเสริมสนับสนุน โอกาสทางการศึกษาและจัดให้มีการชิงทุนศึกษา จัดให้มีการอบรมฝึกทักษะที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน และส่งเสริมให้บุคลากรศึกษาต่อโดยใช้เวลาราชการบางส่วนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth_TH
dc.title.alternativeHuman resource development of the Office of the Vocational Education Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) study the level of human resource development of the Office of Vocational Education Commission (2) compare the level of human resource development of the Office of Vocational Education Commission ,classified by personal factors and (3) proposed the guidelines for human resource development of the Office of Vocational Education Commission. This study was a quantitative research. The population of this study consisted of 595 officials under the Office of Vocational Education Commission. The sample size was 240 people determined by using Taro Yamane formula. Sampling group was selected by applying accidental random sampling method. The tool for data collection was a questionnaire. Data were statistically analyzed in term of frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test, and One-way ANOVA. The results of the study revealed that: (1) the personnel of the Office of Vocational Education Commission have the overall level of human resource development at a moderate level. When considering each aspects, the study revealed that development all 3 sides which are training, knowledge management and education level are at a medium level respectively. (2) age, operating time, position, organization of officials of the Office of Vocational Education Commission had the different opinions toward the level of human resource development with statistical significance at the level of 0.05, and (3) three guidelines for human resource development of the Office of Vocational Education Commission were proposed as follows; the Office should support educational opportunities and provide scholarships, should provide skill training that can be actually applied to work, and finally should encourage personnel to continue their studies by using some government timeen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_162684.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons