Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6653
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรภร ชัยพุทธนพันธ์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T08:34:04Z-
dc.date.available2023-06-21T08:34:04Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6653-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะของการดำเนินธุรกิจโรงแรมบูติกขนาดเล็กในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยทางการบริหาร ตามกรอบแนวคิด 7s ของแมคคินซีย์ต่อธุรกิจโรงแรมบูติกขนาดเล็ก (3) ความสำเร็จของผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมบูติกขนาดเล็ก (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางการบริหารกับความสำเร็จของผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมบูติกขนาดเล็ก ประชากรของการวิจัย คือผู้ดูแลโรงแรมบูติกขนาดเล็ก 4-79 ห้อง จำนวน 83 แห่งในเขตกรุงเทพมหานคร การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามกับประชากรทั้งหมด และการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับผู้จัดการโรงแรมบูติกที่เป็นกลุ่มประชากรอีก 5 แห่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์ ผลการวิจัย พบว่า (1) โรงแรมบูติกขนาดเล็กในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยโรงแรมที่มีจำนวนห้องพักตั้งแต่ 4-79 ห้อง มีการบริหารโดยเครือข่ายโรงแรมจำนวน 17 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.5 มีจุดขายที่สำคัญคือ การบริการที่เป็นเลิศ ร้อยละ 59.04 มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 69.78 (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยทางการบริหารของธุรกิจโรงแรมบูติก พบว่าด้านระบบมีความสำคัญมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านแบบการบริหาร ด้านทักษะ ด้านโครงสร้าง ด้านกลยุทธ์ ด้านบุคลากร ด้านค่านิยมร่วม ตามลำดับ (3) ความสำเร็จของผู้ประกอบธุรกิจพบว่า มีระดับความสำเร็จในระดับมาก โดยมีความสำเร็จด้านกระบวนการภายในมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการเรียนรู้และพัฒนา ด้านลูกค้า และมีความสำเร็จในระดับปานกลางในด้านการเงิน (4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางการบริหารกับความสำเร็จของผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมบูติก มีความสัมพันธ์กันในทางบวกทุกด้าน ผลการวิจัยเสนอแนะว่า โรงแรมบูติกขนาดเล็กควรให้ความสำคัญในการวางแผนระบบการบริหารงานที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดผลสำเร็จทางด้านการเงินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.35en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงแรมth_TH
dc.subjectความสำเร็จทางธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจโรงแรมบูติกขนาดเล็กในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to success of small boutique hotels in Bangkok Metropolitanth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study business operations of small boutique hotels in Bangkok Metropolitan; (2) to study the important level of management factors based on McKinsey 7S Model for small boutique hotels in Bangkok; (3) to study the successful level of small boutique hotels in Bangkok; and (4) to examine the relationship between management factors and the success of small boutique hotels in Bangkok. The population of the study was the person who took care of the small boutique hotels 4-79 rooms for 83 hotels in Bangkok Metropolitan. Questionnaires were used to collect data from all the population and the structured interviews with the managers of 5 small boutique hotels in the population were conducted. Statistical tools employed for statistical analysis were percentage, mean, standard deviation and correlation analysis. The results showed that (1) the respondents were boutique hotels in Bangkok consisting of 4 to 79 rooms. Seventeen hotels 20.5 % were managed by hotel chain. The major selling point of respondents was the good service 59.04 % and the average occupancy rate was 69.78%. (2) The most important management factor for small boutique hotels was System and the remaining factors were Style, Skill, Structure, Strategy, Staff and Share valued respectively; (3) The management success of small boutique hotels was at the high level and the highest successful level was in internal process and the high level was in learning and development, and customer success respectively. The financial success was in the middle level; and (4) the relationship between management factors and the success of small boutique hotels in Bangkok were positive in every dimension. The research results suggested that small boutique hotels in Bangkok should emphasize upon systematic planning which will result in finance achievement of the hotelsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125059.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons