Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/665
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอติพรรณ ทองจรัส, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T06:53:58Z-
dc.date.available2022-08-17T06:53:58Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/665-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงลักษณะที่ผู้สนับสมุนผู้สมัครรับเสือกตั้งให้การสนับสนุนผู้สมัครรับเสือกตั้ง (2) ศึกษาพฤติกรรมของผู้สนับสมุนผู้สมัครรับเลือกตั้งในการแสวงหาการสนับสมุนจากผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง(3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาอุปสรรคของผู้สนับสมุนผู้สมัครรับเลือกตั้งในการแสวงหาการสนับสมุนจากผู้มีสีทธิออกเสียงเลือกตั้งให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง และ (4) เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแสวงหาการสนับสมุนจากผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้สนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้ง ผลการวิจัยพบว่า (1) ลักษณะที่ผู้สนับสมุนผู้สมัครรับเลือกตั้งให้การสนับสมุนผู้สมัครรับเลือกตั้ง คือ การประชาสัมพันธ์ผู้สมัครรับเลือกตั้งในทางหลักการ การสำรวจข้อมูลพื้นฐานของท้องถิ่นที่จะมีผลต่อการเลือกตั้ง การรักษาฐานคะแนนเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้ง การรณรงค์หาเสียง การขอบคุณผู้มีสีทธิเลือกตั้ง และ การดำเนินการร้องเรียนผู้แข่งทางการเมืองทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง หรือการแก้ไขข้อกล่าวหาจากการถูกร้องเรียนว่าทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง (2) ผู้สนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้งมีพฤติกรรมในการแสวงหาการสนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้งก่อนการเลือกตั้งก่อนการเลือกตั้ง ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ผู้สมัครรับเลือกตั้งในทางหลักการ การสำรวจข้อมูลพนฐานของท้อถิ่นที่จะมีผลต่อการเลือกตั้ง และการรักษาฐานคะแนนเสียงของผู้สมัคร พฤติกรรมขณะเลือกตั้ง ได้แก่ การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในช่วง เวลาก่อนที่จะถึงวันเลือกตั้งและการดำเนินการในวันเลือกตั้งและพฤติกรรมภายหลังจากการเลือกตั้ง ได้แก่ พฤติกรรมการขอบคุณผู้มีสิทธิเลือกตั้ง และการดำเนินการร้องเรียนคู่แช่งทางการเมืองหำผิดกฎหมายเลือกตั้งหรือการแก้ไขข้อกล่าวหาจากการผู้ร้องเรียนว่าทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง (3) ปัญหาอุปสรรคของผู้สนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้ง ได้แก่ ผู้แข่งทางการเมืองเพ่งเล็งการทำผิด กฎหมายเลือกตั้ง การตรวจสอบและควบคุมของคณะกรรมการการเลือกตั้งและองค์กรเอกชน และผู้สนับสมุนฝ่ายตรงข้ามข่มขู่และใส่ร้ายทางการเมือง (4) ข้อเสนอแนะมี 2 ประการ คือ ควรแก้ไขกฎหมายเลือกตั้งเกี่ยวกับ การกำหนดเงื่อนไขของผู้ช่วยเหลือผู้สมัคร และควรแก้ไขพฤติกรรมของผู้สนับสมุนผู้สมัครรับเลือกตั้งให้เป็นผู้ที่ให้ความรู้เที่ยวกับกฎหมายเลือกตั้งแก่ประชาชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเลือกตั้ง--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.subjectพฤติกรรมการเลือกตั้งth_TH
dc.titleพฤติกรรมของผู้สนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้ง : ศึกษากรณีการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2550 ในเขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeCanvassers' behavior : a case study of the 2007 general election of the second constituency in Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the ways in which canvassers supported candidates; (2) study the canvassers’ behavior in seeking the support of voters; (3) study the problems and obstacles faced by canvassers; and (4) form recommendations for modifying canvassers’ behavior. The results showed that (1) the ways in which canvassers supported candidates were to undertake public relations work in principle, to research basic information about the constituency that might affect election results, to maintain the voter base, to campaign, to thank voters, and to launch complaints against competing candidates in the case of suspected election fraud or to defend the candidate from such accusations. (2) Before the election, the canvassers’ behavior consisted of undertaking public relations work in principle, researching basic information about the constituency that might affect election results, and maintaining the voter base. During the election, the canvassers’ behavior consisted of campaigning and undertaking related activities on election day. After the election, their behavior consisted of thanking voters and launching complaints against competing candidates in the case of suspected election fraud or defending the candidate from such accusations. (3) The problems and obstacles encountered by canvassers were being watched by competing candidates in the case of election fraud, inspections and control by the election committee and private organizations, and threats or political slander by the opposing parties. (4) Recommendations for modifying canvassers’ behavior are to amend election laws to set conditions for candidates’ assistants and to encourage canvassers to change their role into educators informing the public about election laws.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114936.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons