Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6677
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์th_TH
dc.contributor.authorกันตินันท์ ราโชมาศ, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T02:35:07Z-
dc.date.available2023-06-23T02:35:07Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6677en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ปัจจัยที่ส่งผลคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร และ (3) ปัญหาและเสนอแนะแนวทางเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของบุคลากรสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราวของสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 17 แห่ง รวมทั้งหมด 689 คน กลุ่มตัวอย่าง 253 คน คำนวณ จาก สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมาก โดยด้านความมั่นคงและโอกาสในการเจริญเติบโต มีค่าเฉลี่ยสูงสุดและด้านค่าตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ด้านรายได้ต่อเดือน ส่วนปัจจัยที่ไม่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอายุราชการ ปัจจัยด้านบริหารจัดการ มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมด้านวัฒนธรรมองค์กร (3) ปัญหา ได้แก่ ค่าตอบแทนไม่เพียงพอในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน บุคลากรมีโอกาสน้อยในการเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการทำงานและอำนาจการตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบของบุคลากรมีน้อย ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ควรเพิ่มค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับความรู้ ความสามารถ ปริมาณงาน รวมทั้งให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ ควรเปิดช่องทางให้บุคลากรสามารถให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์แก่องค์กรได้อย่างเต็มที่ และควรให้อิสระแก่บุคลากรในการตัดสินใจงานของตนมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร--ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeQuality of work life of Land Offiices' personnel in Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) quality of work Life of Land Offices, personnel in Bangkok Metropolitan (2) factors affecting quality of work life of Land Offices, personnel in Bangkok Metropolitan, and (3) problems and recommendations to improve quality of work life of Land Offices, personnel in Bangkok Metropolitan. Population comprised civil servants, government employees, permanent staff, and temporary staff of group of Land Offices, personnel in Bangkok Metropolitan totally 17 offices, 689 officers. Samples of 253 were drawn via Yamane formula Simple random sampling had been used Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression. The results showed that (1) quality of work life of Land offices, personnel in Bangkok Metropolitan was at high level, the aspect with highest mean was security and growth opportunities while the aspect with lowest mean was appropriate and fair compensation (2) personal factor affecting quality of work life was monthly income, while gender, age, educational level and work duration did not affect work life quality as for management aspect: administrative management affected quality of work life the most, next was organizational culture (3) problems were inadequate remuneration when compared with current economic condition, less opportunity of officials to voice their view on their job, together with little decision making power;recommendations were: the management should consider adjusting the compensation so to make it suitable with employees knowledge, skill, responsibilities, and the economic condition; communication channel. Should be provided so consequently employees could have more participation and could should their opinions freely more importantly, they should be empowered so to have more decision power on their own job.en_US
dc.contributor.coadvisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128216.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons