Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเนาวรัตน์ บุญวรรณโณ, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T04:28:17Z-
dc.date.available2023-06-23T04:28:17Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6691-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายก (2) การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายก และ (3) ภาพรวมแนวโน้มของการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายก การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการหาค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.985 สำหรับกลุ่มตัวอย่าง คือ จำนวนผู้เช่าที่ดินราชพัสดุในเขตจังหวัดนครนายก จำนวน 1,067 คน ได้มาจากการคำนวณโดยใช้สูตร การหาจำนวนของกลุ่มตัวอย่างของ ทาโร่ ยามาเน่ เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 950 ชุด คิดเป็นร้อยละ 89.03 ของแบบสอบถามทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ มีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ กรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายก ไม่ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายด้านการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุ (2) การพัฒนาการบริหารจัดการที่สำคัญ คือ กรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายก ควรกำหนดนโยบายด้านการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุไว้อย่างชัดเจน และต่อเนื่อง รวมทั้งควรสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย และ (3) ในภาพรวม ในอนาคตกรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายก มีแนวโน้มของการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนสูงกว่าในปัจจุบันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.98en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมธนารักษ์th_TH
dc.subjectการบุกรุกth_TH
dc.subjectที่ดินของรัฐ -- ไทย -- การบริหารth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ในจังหวัดนครนายกth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of management administration to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property of the Treasury Department in Nakhon Nayok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main purposes of this study were to study (1) problems of management administration to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property of the Treasury Department in Nakhon Nayok Province, (2) development of management administration to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property of the Treasury Department in Nakhon Nayok Province, and (3) overview trend of management administration to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property of the Treasury Department in Nakhon Nayok Province. The study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were being tested for validity and reliability of questionnaire at 0.985 level. Sampling groups were 1,067 lessees of the Invasion of Immovable Government Property, calculated by Taro Yamane’s formula at the confidence level 95%. The amount of field data was 950 out of 1,067 sets of questionnaire were collected back, equal to 89.03 %. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test. Moreover, in-dept interview of experts was also employed. The result of this study showed (1) the main problem was the Treasury Department in Nakhon Nayok Province’s open no opportunity for people to participate in the formation of management administration policy to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property; (2) the main development of management administration was the Treasury Department in Nakhon Nayok Province should formulate the management administration policy to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property explicitly and continuously including support the people participation; (3) in overview, in the future, the Treasury Department in Nakhon Nayok Province’s trend of management administration to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property was coincide with the people needs more than the presenten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128232.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons