Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภวิชญ์ ทะมังกลาง, 2529- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T02:39:20Z-
dc.date.available2023-06-26T02:39:20Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6708-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (2) เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณประชากร คือ พนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จำนวน 4,240 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการคำนวณสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ตัวอย่างจำนวน 366 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีชั้นภูมิแบ่งสัดส่วน และแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) การเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ระดับการศึกษา ที่แตกต่างกันมีความเห็นต่อความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านเพศ อายุ สถานภาพ ตำแหน่งงาน อายุงาน ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย คือ ปัจจัยด้านความมันคงก้าวหน้าในงาน และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานกลุ่มสายงานรองผู้ว่าการระบบส่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors relating organizational commitment of employees under the supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study level of organizational commitment of employees under the supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailand (2) to compare level of organizational commitment of Employees under the Supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailand classified by personal factors, and (3) to study factors relating organizational commitment of employees under the supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailand. This study was a quantitative research. The Population of this study was 4,240 employees under the supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailand. Sample size was determined by using Taro Yamane Formula and obtained 366 samples. The sampling method were stratified random and convenient samplings. The research tool was an intranet electronic mail which were sent toward the samples. Soon after the complete responses as set, the system would stop counting automatically. Statistics employed for data analysis included mean, percentage, standard deviation and Pearson’s product moment coefficient. The findings revealed that (1) an overview of level of organizational commitment of employees under the supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailand was at the highest level (2) the comparative study of level of organizational commitment showed the different educational background had different organizational commitment, whereas gender, age, marital status, educational background, position, period of experience had no statistically significant correlation, and (3) factors related to the organizational commitment of employees under the supervision of Deputy Governor Transmission System Development of the Electricity Generating Authority of Thailand were work security and work environment.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_163301.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons