Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6709
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุมาตร คะสีทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T02:40:43Z-
dc.date.available2023-06-26T02:40:43Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6709-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับภาวะ ผู้นำของผู้บริหารของจังหวัดสกลนคร (2) ระดับศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบวัฒนธรรม องค์การของจังหวัดสกลนคร (3) ศึกษาระดับความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐของจังหวัดสกลนคร (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ และวัฒนธรรม องค์การ กับ รางวัลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัดสกลนคร การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยศึกษาสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 346 ตัวอย่าง ที่ใด้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบ ง่าย จากประชากรที่เป็นข้าราชการที่ปฏิบัติงานใน 8 ส่วนราชการของจังหวัดสกลนครที่เข้าร่วม ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐใน ปีงบประมาณ 2550 ถึง 2551 จำนวน 2,426 คน ประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใข้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความกี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ สถิติเชิงอนุมาน คือ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเพื่อวัดความสัมพันธ์ของตัวแปร และการทดสอบสมมติฐานของค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรของจังหวัดสกลนครมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำของ ผู้บริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) บุคลากรของจังหวัดสกลนครมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรม องค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) บุคลากรของจังหวัดสกลนครมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรางวัล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4) ภาวะผู้นำของผู้บริหารมี ความสัมพันธ์กับรางวัลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัดสกลนคร อยู่ในระดับ ปานกลาง และวัฒนธรรมองค์การมีความสัมพันธ์กับรางวัลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐของจังหวัดสกลนครอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.121-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ--ไทย--สกลนครth_TH
dc.subjectรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การ กับรางวัลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeCorrelation between leadership and organizational culture and public sector management quality award of Sakon Nakhon provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.121-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study attitude levels of people toward Sakonnakhon leadership (2) study opinion on a organizational culture form of Sakonnakhon (3) study attitude levels of people toward development of public sector management (4) study relationship between leadership, organizational culture and public sector management quality award. This study was the qualitative research which studied on factor correlation. The data was collected from 346 samples by using questionnaires. The samples were selected from 2,426 government employees who worked for 8 sectors in Sakonnakhon province and attended the public sector management development in the fiscal year 2007-2008 by using the convenience method. Analyses of the data were expressed in percentages, means, standard deviation and Pearson’s estimate statistic by statistical software. The hypothesis were tested at 0.05 levels of significant. The result of this study showed that (1) the government employees in Sakonnakhon had overall opinions on leadership in high level (2) the government employees in Sakonnakhon had overall opinions on organizational cultures in high level (3) the government employees in Sakonnakhon had overall opinions on the public sector management quality award in high level (4) leadership of organizational leaders moderately was related to the public sector management quality award of Sakonnakhon and organizational culture highly was related to the public sector management quality award of Sakonnakhonen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112137.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons