Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorเรณู หมื่นห่อ, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T03:47:39Z-
dc.date.available2023-06-26T03:47:39Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6716-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไป ปฏิบัติ (2) เปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติแต่ละหน่วยงาน (3) ปัจจัยที่ มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ (4) ข้อเสนอแนะในการนำหลักธรรมาภิบาล ไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานจ้างองค์การบริหารส่วน จังหวัดภูเก็ต จำนวน 600 ราย ได้กลุ่มตัวอย่าง 240 ราย โดยสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (2) วิเคราะห์ระดับผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติใช้การทดสอบค่าที (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน และ (4) วิเคราะห์ความแตกต่างใช้การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ ในองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดภูเก็ต ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ในการนำหลัก ธรรมาภิบาลไปปฏิบัติในภาพรวมของแต่ละหน่วยงาน พบว่า ไม่แตกต่างกัน (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติทุกด้าน พบว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์ 5 ตัวแปร มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การสื่อสารระหว่างองค์กรต่างๆ ความสำเร็จในการทำงานของ บุคคล ความก้าวหน้า ความรับผิดชอบ และวัตถุประสงค์และมาตรฐานของนโยบาย (4) กลุ่มตัวอย่างได้ เสนอแนะให้ผู้บริหารให้ความสำคัญในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ สนับสนุนให้บุคลากรยึดหลัก ความมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/KU.the.2011.875en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.subjectธรรมรัฐth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting achievement of good governance implementation in Phuket Provincial Administrative Organizationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to : (1) study the level of good governance implementation; (2) compare the level of good governance implementation (3) study the factors affecting the achievement of good governance implementation; and (4) recommend appropriate ways to enhance the achievement of good governance implementation. Population in this study consisted of 600 officials and employees in Phuket Provincial Administrative Organizations. Samples of 240 were from stratified random sampling application. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were : frequency, percentage, mean, standard deviation, t – test analysis was used to analyze the achievement level of good governance implementation, Stepwise Multiple Regression Analysis was applied to analyze the relationship, and One – way ANOVA was used to analyze the difference. It was found from the study that (1) the achievement of good governance implementation in Phuket Provincial Administrative Organizations was at high level (2) when compared the implementation of good governance in each organizations, no difference was found (3) factors influencing the achievement of good governance implementation at 0.05 level of statistical significance were 5 independent variables: communication among organizations, individual job achievement, advancement, responsibility, objectives and policy standards (4) recommendations were the management should put the emphasis on the importance of good governance implementation, employees’ participation in every step should be as well supporteden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129211.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons