Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6717
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชำนาญ คงรอด, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T03:59:17Z-
dc.date.available2023-06-26T03:59:17Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6717-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาล ไปปฏิบัติ (2) เปรียบเทียบระดับความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ (3) ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ และ (4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนำ หลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติให้ประสบความสำเร็จ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ข้าราชการสังกัดเรือนจำและทัณฑสถานเขต 8 กรม ราชทัณฑ์ 14 หน่วยงาน จำนวน 664 ราย ได้กลุ่มตัวอย่าง 250 ราย โดยสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด (2) วิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ ใช้การทดสอบค่าที (3) วิเคราะห์ความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และ (4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) ความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติในเรือนจำ และทัณฑสถานเขต 8 กรมราชทัณฑ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบความแตกต่าง ความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติในภาพรวม พบว่า ความสำเร็จในการนำหลักธรรมา ภิบาลไปปฏิบัติของข้าราชการระดับตำแหน่งที่ 1 – 6 ไม่แตกต่างกัน (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติทุกด้าน พบว่าตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์ 8 ตัว แปร มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ มีใจและการกระทำที่เป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส มุ่งเน้นประสิทธิภาพ มีศีลธรรม คุณธรรม มุ่งเน้นผลงาน วัตถุประสงค์และมาตรฐาน นโยบาย การได้รับการยอมรับนับถือ ความก้าวหน้า และความสำเร็จในการทำงานของบุคคล (4) กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะให้ผู้บริหารให้ความสำคัญในการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ สนับสนุน ให้บุคลากรยึดหลักความมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอน และส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ตลอดจนฝึกอบรมข้าราชการให้มีความเข้าใจในหลักธรรมาภิบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.73en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectธรรมรัฐth_TH
dc.subjectทัณฑสถานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติ : ศึกษาเฉพาะกรณีเรือนจำและทัณฑสถานเขต 8 กรมราชทัณฑ์th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing successful implementation of good governance : a case study of Prisons and Correctional Region 8 Department of Correctionsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were : (1) to study the level of success of the good governance implementation; (2) to compare the level of success of the good governance implementation; (3) to study factors influencing achievement of the good governance implementation; and (4) to study suggestions of the good governance implementation success. The population in this study were 664 government officers of 14 organizations of prisons and correctional region 8 Department of Corrections. 250 samples were selected by using stratified random sampling methodology. The instrument used was questionnaires. The statistics used to analyze the data by computer programs were (1) frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value, and standard deviation; (2) t – test Analysis for analyzing the water users participation level; (3) One – way Analysis of Variance (One - way ANOVA) for analyzing the difference; and (4) Stepwise Multiple Regression Analysis for analyzing the relationship. It was found from the study that: (1) the overall success of the good governance implementation in prisons and correctional region 8 Department of Corrections in every process was at “much” level; (2) overall image of comparison of using good governance was successful level of 1th grade – 6th grade government officer were not different; (3) overall factors influencing the achievement of good governance implementation were 8 independent variables at 0.05 statistical significance, the variables were the Democracy, Efficiency, Morality, Yield, Policy Standards and Objectives, Recognition, Advancement, and Achievement in Working; (4) The suggestion is to promote participation at all levels; to promote teamwork and government officers should be trained to understand principle of good governanceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129215.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons