Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6735
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชินรัตน์ สมสืบ | th_TH |
dc.contributor.author | เกียรติพงษ์ พรหมโย, , 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-26T07:43:13Z | - |
dc.date.available | 2023-06-26T07:43:13Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6735 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description | 10.14457/STOU.the.2011.99 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการดาเนินงานการจัดการความรู้ของเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ (2) เปรียบเทียบการดำเนินงานการจัดการความรู้ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 279 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีและการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า (1) การดำเนินงานการจัดการความรู้ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมี 6 ด้านอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านการค้นหาความรู้ ด้านการสร้างและแสวงหาความรู้ ด้านการจัดความรู้ให้เป็นระบบ ด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ ด้านการเข้าถึงความรู้ ด้านการเรียนรู้ และมี 1 ด้านอยู่ในระดับน้อยได้แก่ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (2) ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ และสายงานที่ปฏิบัติมีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานการจัดการความรู้ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0 .05 และ (3) แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ มี 3 ประการได้แก่ ควรจัดให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้แบบไม่เป็นทางการ พูดคุย สัมมนาในกลุ่ม แบบพี่น้องแบ่งปันความรู้ในทุกหน่วยงาน ควรจัดงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ให้ครอบคลุมทุกงานและเพียงพอต่อบุคลากร และควรจัดสร้างศูนย์เรียนรู้แก่เจ้าหน้าที่อย่างได้มาตรฐาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.99 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | เรือนจำเขต 5--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ทัณฑสถานหญิงเขต 5--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | th_TH |
dc.title | การจัดการความรู้ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน เขต 5 ของกรมราชทัณฑ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Knowledge management in Prison Zone Five of Department of Correction | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.99 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to the first study the conduct knowledge management in prison zone five from the Department of Prisons. The second to compare the conduct knowledge management in prison zone five from the Department of Prisons to classified from the personal factors. Thethird to study the way to development of knowledge managementin prison zone five from the Department of Prisons. The populations were 920 in prison zone fivefrom the Department of Prisons. The samples were 279 from the populationstaken by usingyamane method. Collected data by using the questionnaire. Analyzed in frequency, percent, mean, standard, deviation, t – test and f – test. The results of this study were found that the first to conduct knowledge management in prison zone five from the Department of Prisons was in medium level. To consider were six sides was in medium level according to Knowledge Retrievel, Knowledge Creation and Acquisition, Knowledge Organization, Knowledge Codification and Refinement, Knowledge Access, Leaning but Knowledge Sharing was in small level. The second was hypothesis showed the connection with knowledge management in prison zone five in all part which was significantly at the .05 level was the age, educational level, official term and working line. The third was developmentof knowledge management in prison zone fivefrom the Department of Prisons were three ways according to have disofficial knowledge sharing, discuss, seminar knowledge sharing in organization. To buy electronics tool and computer to have adequate and to construct a standard knowledge center to give a government official. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เสน่ห์ จุ้ยโต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130293.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License