Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลักษณา ศิริวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา,th_TH
dc.contributor.authorวิรัญญา รามางกูร, 2530- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T07:05:39Z-
dc.date.available2023-06-27T07:05:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6763-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร โรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การจำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล(3) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร จำแนกตามปัจจัยด้านลักษณะงาน (4) ศึกษาปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาความผูกพันต่อองค์การ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธีกลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรทั้งหมดในโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 208 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามแบบ มีโครงสร้างการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติอนุมาน ได้แก่การทดสอบค่าทีการทดสอบค่าเอฟ ซึ่งหากพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลจากการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรีอยู่ในระดับสูงมาก (2) บุคลากรโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรีที่มี เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และระยะเวลาในการปฏิบัติติงานในองค์การ แตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกันส่วนบุคลากรที่มีอายุเงินเดือน และตำแหน่งงาน แตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน (3) บุคลากรโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรีที่มีความก้าวหน้าในงานและความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มีความมั่นคงในงาน และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานแตกต่างกันมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน (4) ปัญหาความผูกพันในองค์การ ได้แก่ผู้บังคับบัญชาให้งานไม่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและประสบการณ์องค์การไม่มีการอบรมและส่งเสริมให้เกิดความกาวหน้าในการท้าทายงาน และเพื่อนร่วมงานมีการแบ่งพรรคแบ่งพวก สำหรับแนวทางในการแกไข้ ปัญหาความผูกพันในองค์การ ได้แก่ควรมีการจัดอบรมส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าในหน้าที่การงานควรมอบหมายงานให้เหมาะสมกับสายอาชีพของผู้ปฏิบัติงาน และมีกิจกรรมเสริมสร้างความผูกพันองค์การเป็นประจำทุกปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรโรงไฟฟ้าพลังน้ำ เขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of employees at Vajiralongkorn Hydro Power Plant in Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to investigate the level of organizational commitment of Vajiralongkorn hydro power plant in Kanchanaburi Province, (2) to compare the organizational commitment of personnel classified by personal factors, (3) to compare organizational commitment of personnel classified by nature of work, and (4) to study problems and solutions for organizational commitment. This research was a mixed method. The population was 208 personnel working in the Vajiralongkorn Hydro Power Plant in Kanchanaburi Province. A structured questionnaire was used as a research tool for data collection. Data collected were analyzed by descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation as well as inferential statistics, including T-test and F-test. When a statistically significant difference was found, Scheffe's method was used. Qualitative data were analyzed using content analysis. The results of this study indicated that (1) overall organizational commitment of the employees was at a very high level. (2) The personnel with different gender, educational level, marital status, and years of work experience had no different organizational commitment. However, the personnel with different age, monthly income, and job position had different organizational commitment. (3) The personnel with different work progress and the relationship with supervisor had no different organizational commitment. However, the personnel with different work security and the relationship with co-workers had different organizational commitment. (4) The problems affecting organizational commitment included mismatch of tasks assigned by supervisor for personnel knowledge and experience, lack of training and promotion for work progress, and partisanship among co-workers. The guidelines for solving the problems were that the training should be promoted to develop work progress. Moreover, tasks should be assigned under the consideration of related work field and expertise of personnel. Finally, organizational commitment strengthening activities should be organized annuallyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_164572.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons