Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/680
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุขอรุณ วงษ์ทิม | - |
dc.contributor.author | วรรณ์ดี แสงประทีปทอง | - |
dc.contributor.author | ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ | - |
dc.contributor.author | วาสนา ทวีกุลทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | กุลชลี จงเจริญ | - |
dc.contributor.author | องอาจ ซึมรัมย์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T10:10:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T10:10:18Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2563), หน้า 100-114. | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/680 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นในการวิจัย ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับทิศทางการวิจัย และทิศทางการวิจัยของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ การวิจัยดำเนินการแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาความต้องการจำเป็น กลุ่มตัวอย่าง คือ คณาจารย์สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ จำนวน 44 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามแบบชนิดตอบสนองคู่ที่จำแนกเป็นสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่คาดหวัง วิเคราะห์ข้อมูลโดย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา ระยะที่ 2 ศึกษาทิศทางการวิจัย โดยการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 5 คน และการทำประชาพิจารณ์ร่างทิศทางการวิจัยโดยคณาจารย์สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เครื่องมือการวิจัย คือ แนวคำถามการสนทนากลุ่มและประเด็นการประชาพิจารณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ความต้องการจำเป็นด้านที่มีดัชนีความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ ด้านการวิจัยที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านการวิจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาชุมชนและสังคม ด้านการวิจัยเกี่ยวกับการจัดการศึกษาทางไกล และด้านการวิจัยเกี่ยวกับนโยบายของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาการศึกษา ตามลำดับ 2) ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับทิศทางการวิจัย พบว่า ผู้เชี่ยวชาญเห็นด้วยกับทิศทางที่เสนอ โดยผู้เชี่ยวชาญได้เสนอประเด็นการวิจัยเพิ่มเติมในทุกด้าน และเสนอแนะให้สาขาวิชาดำเนินการวิจัยโดยการยึดพื้นที่เป็นหลัก บูรณาการศาสตร์ทางการศึกษาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ มุ่งพัฒนาศักยภาพของประชาชนอย่างยั่งยืนโดยใช้การศึกษาทางไกลเป็นแกนในการพัฒนา คำนึงถึงการสนองต่อการดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคณาจารย์เห็นด้วยกับทิศทางการวิจัย และ 3) ทิศทางการวิจัยควรเป็นงานวิจัยที่ครอบคลุมใน 2 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้วย การวิจัยด้านนโยบายของมหาวิทยาลัย และการวิจัยด้านการจัดการศึกษาทางไกล (2) ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน สังคม ซึ่งประกอบด้วย การวิจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และการพัฒนาชุมชนและสังคม | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | การศึกษา -- วิจัย | th_TH |
dc.title | การศึกษาทิศทางการวิจัยของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.title.alternative | Study of research direction in School of Educational Studies, Sukhothai Thammathirat Open University | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License