Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6822
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorตตริกาญจน์ นวลศิริ, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T04:19:01Z-
dc.date.available2023-06-28T04:19:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6822-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของนักปกครองท้องที่ ในพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) ระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของนักปกครองท้องที่ ในพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของนักปกครองท้องที่ ในพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการศึกษาพบว่า (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของนักปกครองท้องที่ในพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ รองลงมาคือ ด้านการคำนึงถึงปัจเจกบุคคล ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา (2) ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของนักปกครองท้องที่ในพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการปกครอง รองลงมาคือ ด้านการร่วมมือร่วมใจ ด้านการประนีประนอม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย และ (3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของนักปกครองท้องที่ในพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนข้อเสนอแนะคือ นักปกครองท้องที่ควรมีการบูรณาการการทำงานในพื้นที่ ควรมีการประเมินภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของตนเองอยู่เสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการเมืองth_TH
dc.subjectนักปกครอง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ.th_TH
dc.titleภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของนักปกครองท้องที่ กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeTransformational leadership and work effectiveness of Local Leaders : a case study from Paway Sub-district, Chaiya District, Surat Thani Province, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) level of transformational leadership of Local Leaders at Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province (2) level of work effectiveness of local leaders at Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province, and (3) the relationship between transformational leadership and work effectiveness of local leaders at Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province. This research is a survey research. Quantitative method has been applied as research methodology. The population of this study was 5,224 residences of Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province. The sample size was calculated by using Taro Yamane Formulation and obtained 372 samples with stratified random and accidental sampling methods. The research tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The finding showed that (1) an overview image of transformational leadership level of Local Leaders at Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province was at high level. The highest average mean was an ideal influence aspect, followed by individual recognition, inspiration and the lowest average mean was intellectual stimulation (2) an overview of work effectiveness of local leaders at Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province was at high level. The highest average mean was governing and administration aspect, followed by participation and compromising aspects and the lowest average mean was safety and protection aspect, and (3) the transformational leadership and work effectiveness of local leaders at Paway Sub-district, Chaiya District in Surat Thani Province correlated positively at high level at statistically significance at 0.01 level. The recommendation were there should integrate the operational plan and evaluate self-transformational leadership level regularlyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons