Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6838
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี | th_TH |
dc.contributor.author | สรายุทธ รัตโน | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T06:36:24Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T06:36:24Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6838 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพร้อมของสถานีอนามัยในการถ่ายโอนภารกิจให้องค์การบริหารส่วนตำบล (2) ศึกษาปัญหาของสถานีอนามัยในการถ่ายโอนภารกิจให้องค์การบริหารส่วนตำบล และ (3) เสนอแนะในการปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่และสถานะของสถานีอนามัยหลังจากถ่ายโอนภารกิจให้สู่องค์การบริหารส่วนตำบลการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามที่ได้ผ่านการทดสอบทั้ง ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม หลังจากนี้นได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือพนักงานส่วนตำบลในจังหวัดกระบี่จำนวน 140 คน สำหรับสถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า : (1) ความพรัอมของสถานีอนามัยในการถ่ายโอนภารกิจให้องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกระบี่อยู่ในระดับตํ่า เนื่องจากเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเห็นว่าองค์การบริหารส่วนตำบลมีศักยภาพในการควบคุมคูแลการดำเนินงานในส่วนนี้น้อย (2) ปัญหาของสภานีอนามัยถ่ายในการถ่ายโอนภารกิจให้องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกระบี่ คือเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยยังไม่มั่นใจในการบริหารงานด้านสาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนตำบลเนื่องจากความรู้ความเข้าใจในงานด้านสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้อย และ (3) ข้อเสนอแนะควรถ่ายโอนภารกิจด้านสาธารณสุขเป็นบางส่วนและควรให้ท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายรูปแบบในการถ่ายโอนภารกิจควรถ่ายโอนทั้งงบประมาณและบุคลากรรัฐบาลควรมีความจริงใจในการกระจายอำนาจและการถ่ายโอนภารกิจต่างๆ อย่างแท้จริง สถานีอนามัยต้องมีความจริงใจในการถ่ายโอนภารกิจ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงโดยการให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--กระบี่ | th_TH |
dc.subject | สถานีอนามัย--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การกระจายอำนาจปกครอง--ไทย--กระบี่ | th_TH |
dc.title | ความพร้อมของสนานีอนามัยในการถ่ายโอนภารกิจให้องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | Readiness of the public health center to transfer activities to the sub-district administrative organization in Krabi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research were : (1) to study the readiness of the public health-center in transferring activities to the sub-district dministrative organization (2) to study the problems of the public health-center in transferring activities to the sub-district administrative and (3) to suggest the alteration of duty and status of the public health-center after transferring activities to the sub-district administrative organization. This study was based on a survey research by using questionnaires which had been pretested and checked for reliability and validity. The sample group in this study was selected by random sample from sub-district officers in Kribi province in the amount of 140 people . The statistical methods used in this study were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results of this study found that : (1) the readiness of the public health-center in transferring activities to the sub-district administrative was at a low level because they thought that sub-district administrative organization had a low potential to control this operation (2) the problems of the public health-center were that the public health center personnel and no confidence in the public health management of the sub-district administrative organization and (3) the suggestions of this research were that the public health-center should transfer part of the public health responsibility and let the locality take some part in policy-making both in budgeting and personnel .The government should sincerely try to decentralize some of the functions to the lower level . The public health-center must be sincere about transferring activities and accept change and cooperate with the sub-district administrative organization. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ สามัคคีธรรม | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
112206.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License