Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียรth_TH
dc.contributor.authorธารทิพย์ ภาระพฤติ, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:07:56Z-
dc.date.available2023-06-28T07:07:56Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6847en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา ในจังหวัดพังงา และ (2) เปรียบเทียบการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา ในจังหวัดพังงา โดยจำแนกตามลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของสถานศึกษา และประเภทของภัยธรรมชาติที่พบในสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา ในจังหวัดพังงา จำนวน 114 แห่ง ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยเก็บข้อมูลจาก ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 114 คน ครูผู้สอน จำนวน 114 คน และผู้ปกครอง จำนวน 114 คน รวมทั้งสิ้น 342 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา ในจังหวัดพังงา มีการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษาในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านกิจกรรมระหว่างเกิดภัยมีข้อที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนในเรื่องมีกองอำนวยการกลางที่ตั้งเฉพาะกิจ มีหน้าที่รวบรวมข้อมูลความเสียหาย และความช่วยเหลือ ประสานงานในการสนับสนุนให้ความช่วยเหลือ มีการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และ(2) เปรียบเทียบการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา ในจังหวัดพังงา จำแนกตามตามลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของสถานศึกษา และประเภทของภัยธรรมชาติที่พบในสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านมีการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษาไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภัยธรรมชาติ--การจัดการth_TH
dc.subjectการเตรียมพร้อมth_TH
dc.titleการจัดการความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติของสถานศึกษาระดับประถมศึกษาในจังหวัดพังงาth_TH
dc.title.alternativeRisk management of the natural disasters of primary schools in Phangnga Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study risk management of the natural disasters of primary schools in Phangnga province; and (2) to compare levels of risk management of the natural disasters of primary schools in Phangnga province as classified by geographical location of the school and type of natural disasters found in the school. The research sample consisted of 114 primary schools in Phangnga province, obtained by simple random sampling. Research data were collected from the total number of 342 research informants classified into 114 school administrators, 114 teachers, and 114 parents. The employed data collecting instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of .94. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and one-way ANOVA. Research findings showed that (1) both the overall and by-aspect risk managements of the natural disasters of primary schools in Phangnga province were rated at the high level, excepting one aspect that was rated at the moderate level, i.e. the risk management improvement actions during the time of disaster which included the setting up of the ad hoc headquarters for disaster management with the functions of collecting data on damages from the disaster, providing helps, and coordinating with other work agencies in providing supports and helps; and (2) primary schools in different geographical locations in Phangnga province and primary schools having different types of natural disasters did not significantly differ in their levels of risk management of the natural disasters.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153029.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons