Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิภาพร เฉียนเลี่ยน, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:26:10Z-
dc.date.available2023-06-28T07:26:10Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6852-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม ภาค 8 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม แต่ละศาลในภาค 8 (3) ศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 (4) ศึกษาแนวทางในการสร้าง ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 จำนวน 22 ศาล 690 คน กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเที่ยงอยู่ ในช่วงระหว่าง 0.7669 ถึง 0.9582 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม ภาค 8 อยู่ในระดับ มากกว่าร้อยละ 80 (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 ของแต่ละศาล แตกต่างกัน (3) ปัจจัยด้านคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปัจจัยด้านสมรรถนะ ปัจจัยด้านกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยมในการทา งาน และปัจจัยด้านแรงจูงใจ มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของ ข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (4) แนวทางในการสร้างผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 ได้แก่ ควรนาการบริหารกิจการภาครัฐแนวใหม่ กระบวนทัศน์ใหม่ รวมทั้งวัฒนธรรมและค่านิยมในการทา งาน มาใช้อย่างจริงจัง นอกจากนั้นควรนา ระบบสมรรถนะมาใช้ในการ ประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาความดีความชอบและเลื่อนตำแหน่ง และสร้างแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยน ค่านิยมในการทำงานของข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8 เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานที่สูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.85en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศาลยุติธรรม -- ข้าราชการth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมภาค 8th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the achievement of the performance of official Justice, Sector 8th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to (1) investigate the operational achievement of Officials of Court of Justice, Sector 8, (2) compare the operational achievement of Officials of each Court of Justice in Sector 8 (3) study factors affecting the operational achievement of Officials of Court of Justice, Sector 8 (4) find out the guidelines to enhance the operational achievement of Officials of Court of Justice, Sector 8. This research was a survey research. Population included 690 officials from 22 courts of justice in sector 8. Samples were 400 officials. Instrument used was questionnaire with validity value ranged from 0.7669 to 0.9582. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression. Research result revealed that (1) level of operational achievement of Officials of Court of Justice, Sector 8 was more than 80 percent, (2) the operational achievements of Officials of each Court of Justice in Sector 8 were different (3) public sector quality management, competency, paradigm, culture, value, and motivation factors; positively influenced the operational achievement of Officials of Justice, Sector 8 with .05 level of statistical significance (4) guidelines to enhance the operational achievement were: the organizations should put more emphasis on the implementation of new public management, new administrative paradigm, culture and value in the operation; together with the application of competency system in personnel performance appraisal; work motivation should as well be elevated so consequently personnel value changes could be expected which would finally lead to the increase of achievement in the operation of the Officials of Court of Justice, Sector 8 as a wholeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
133903.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons