Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนะจา โง้วกาญจนนาค, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T09:14:27Z-
dc.date.available2023-06-28T09:14:27Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6875en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาวะการทํางาน ปัญหาและอุปสรรคในการมี งานทําของบัณฑิต คณะวนศาสตร์ (2) ศึกษาความคาดหวังก่อนเข้าศึกษาและความพึงพอใจที่มีต่อคณะ โดยภาพรวมของบัณฑิต คณะวนศาสตร์ และ (3) เปรียบเทียบความคาดหวังและความพึงพอใจของ การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้แก่ บัณฑิตคณะวนศาสตร์ ที่จบการศึกษาในปี 2551 จํานวน 123 คน กําหนดตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ และการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ส่วนใหญ่มีงานทําแล้วและทํางานในหน่วยงาน ของรัฐ ได้แก่ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรมป่าไม้ โดยได้รับค่าจ้างเฉลี่ยเท่ากับ 9,593 บาท และลักษณะงานตรงกับงานด้านวนศาสตร์ ปัญหาสําหรับผู้ที่ยังไม่ได้ทํางานนั้นเกิดจาก หางานที่ ถูกใจไม่ได้ ต้องสอบจึงไม่อยากสมัคร เงินเดือนน้อยและสายงานค่อนข้างจํากัด (2) กลุ่มตัวอย่างมีความ คาดหวังก่อนเข้าศึกษาและความพึงพอใจต่อคณะวนศาสตร์อยู่ในระดับมาก โดยมีความคาดหวังและความ พึงพอใจในด้านอาจารย์มากที่สุด และด้านปัจจัยที่สนับสนุนการเรียนการสอน น้อยที่สุด กลุ่มตัวอย่างมี ความพึงพอใจหลังเข้าศึกษามากกว่าความคาดหวังก่อนเข้าศึกษา (3) ความคาดหวังก่อนเข้าศึกษาและ ความพึงพอใจของบัณฑิตในแต่ละสาขาวิชา พบว่า ความคาดหวังนั้นกลุ่มตัวอย่างในสาขาวิชาวนศาสตร์ ชุมชนมีมากที่สุด และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้น้อยที่สุด ส่วนความพึงพอใจนั้นกลุ่ม ตัวอย่างในสาขาวิชา วนศาสตร์ชุมชนมีมากที่สุด ในขณะที่สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม่มี ความพึงพอใจน้อยที่สุด เมื่อทดสอบค่าที พบว่า สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพป่าไม้มีความพึงพอใจ มากกว่าความคาดหวัง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสาขาวิชาเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษมี ความคาดหวังมากกว่าความพึงพอใจ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนสาขาวิชาอื่นๆ พบว่าไม่มี ความแตกต่างกันทั้งความคาดหวังและความพึงพอใจของบัณฑิตคณะวนศาสตร์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย -- การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินสารสนเทศบนเว็บไซต์ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the information on websites of Public Universities in Thailandth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_118099.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons