Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบัลโชค อภิสิทธิ์อมร, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T04:21:26Z-
dc.date.available2023-06-29T04:21:26Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6895-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจ ลาออกของพนักงานบริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) (2) ศึกษาปัจจัยจูงใจภายในบุคคลที่มีผลต่อ การตัดสินใจลาออกของพนักงานบริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) (3) ศึกษาปัจจัยด้านการบริหารที่มี ผลต่อการตัดสินใจลาออกของพนักงานบริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) และ (4) เสนอแนะแนวทาง การแก้ปัญหาการลาออกของพนักงานบริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงาน บริษัทซาบีน่า จำกัด (มหาชน) จำนวน 1,909 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 330 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที แบบ เอฟและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่ต่างกันมีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจ การลาออกของพนักงานจากบริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) ไม่แตกต่างกัน (2) ปัจจัยจูงใจภายใน บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจลาออกของพนักงานบริษัทฯ (3) ปัจจัยด้านการบริหารมี ความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจลาออกของพนักงานบริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยปัจจัยจูงใจภายในบุคคล พนักงานแสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยด้านการบริหาร พนักงานแสดงความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งอาจส่งผลกระทบให้เกิดความไม่พึงพอใจในงาน (4) บริษัทควรทบทวนปัจจัยในด้านต่างๆ ในด้านการพัฒนาและฝึกอบรม การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน การบริหารค่าตอบแทนและการบริหารการปฏิบัติงานให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ ปัจจัยจูงใจภายในบุคคลและปัจจัยด้านการบริหาร เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับพนักงาน ป้องกัน แนวโน้มการลาออกจากงานและธำรงค์ไว้ซึ่งพนักงานที่มีคุณภาพกับบริษัทฯ ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.368en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพนักงานบริษัทซาบีน่า -- การทำงานth_TH
dc.subjectการลาออกth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลาออกของพนักงานบริษัทซาบีน่า จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting employee resignation in Sabina Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study; (1) the personal factor affecting of employee resignation in Sabina public company limited; (2) the internal motivation factors affecting employee resignation in Sabina public company limited; (3) the administrative factors affecting employee resignation in Sabina public company limited; and (4) the guidelines and appropriate approach to employee resignation in Sabina public company limited. Research was survey research. The populatin was 1,909 employees in Sabina public company limited. Research sample consisted of 330 employees. Instrument used was a questionnaire, Statical tools employed were percentage, mean, standard deviation, T-test, F-test and Pearson Product Moment Correlation Coefficient The research findings were that: (1) different personal factors had not affect employee resignation in Sabina public company limited; (2) the internal motivation factors had related to employee resignation in Sabina public company limited; (3) the administrative factor had related to employee resignation in Sabina public company limited with statistical significance at the 0.01 level. The internal motivation was the factor which the employees gave one's opinion at the high level. The employee gave one's opinion to the administrative factor at the moderate level which might affect the unsatisfactoriness at work; (4) a company should review the various factors of development and training work performance evaluation, pay administration , and work performance administration appropriately and corresponding to internal motivation and administrative factors in order to build the satisfaction of the employees, prevent resignation tendency, and maintain high qualified employees with a companyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135331.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons