Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิยม จับใจสุข, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T04:43:59Z-
dc.date.available2023-06-29T04:43:59Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6899-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิต การทำงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับแรงจูงใจใน การปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค ประชากรคือพนักงานการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคทั้งที่สำนักงานใหญ่ สำนักงานในส่วน ภูมิภาคจำนวน 28,067 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยสูตรยามาเน่ โดยเก็บตัวอย่าง 400 คน ด้วยวิธีการ สุ่มอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคใน ภาพรวมคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับดีทุกด้านเช่นกันได้แก่ ด้านสิ่งตอบแทนที่ยุติธรรม ด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย ด้านการพัฒนาความสามารถ ด้านการได้รับการยอมรับในสังคม ด้านประชาธิปไตยในการทางานกับการมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ ด้านความสมดุลของงานกับชีวิตส่วนตัวและครอบครัว (2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในภาพรวมระดับแรงจูงใจมากทุกด้าน และเมื่อพิจารณาราย ด้านก็อยู่ในระดับมากเช่นกัน ได้แก่ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านความมั่นคงในงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงาน กับแรงจูงใจใน การปฏิบัติงาน ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.61en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค -- การทำงานth_TH
dc.subjectพนักงาน -- การทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between quality of work life and working motivation of functions staff at Provincial Electricity Authorityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was a survey research. The purposes of this research were to study: (1) quality of work life’s level of employees at Provincial Electricity Authority; (2) work motivation’s level of employees at Provincial Electricity Authority; and (3) relation between quality of work life and work motivation of the employees at Provincial Electricity Authority. Population consisted 28,067 of employees at Provincial Electricity Authority, from both head office and provincial office, from which samples of 400 were obtained via Taro Yamane calculating method. Questionnaire was used as instrument to collect data. Statistical tools employed were percentages, mean, standard deviation, correlation coefficient and content analysis. Research results were as followings: (1) quality of work life of employees at Provincial Electricity Authority was at the high level, with high level in all aspects which were fair compensation, safe workplace, ability development, recognition from the society, democracy in the workplace together with participation in decision making, and balancing of work life with family and personal life; (2) the overall work motivation of employees at Provincial Electricity Authority was at high level, with high level in all aspects which were recognition, job advancement, job responsibility, job success, job security, and interrelationship with others; and (3) relation between quality of work life and work motivation of employees at Provincial Electricity Authority was positive with 0.01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135385.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons