Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนธีรภัทร วงษ์ไทย, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T06:13:26Z-
dc.date.available2023-06-29T06:13:26Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6904-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรองค์การ บริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี (2) ศึกษาเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรองค์การบริหารส่วน จังหวัดนนทบุรี โดยจำแนกตามปัจจัยลักษณะบุคคล (3) ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างความผูกพันต่อ องค์การของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ประชากรการวิจัยคือ บุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี จำนวน 1,164 คน โดยการใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 303 คน ตามสูตรการคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าเอฟและการวิเคราะห์ความ แตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัด นนทบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านลักษณะการทำงาน ด้านประสบการณ์ทำงาน ด้านความรู้สึกต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมในการทำงาน ด้านผลตอบแทนและ สวัสดิการ (2) บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ที่มีเพศ สายงาน ระดับ ระดับการศึกษา อายุ ราชการ อัตราเงินเดือนต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี ที่มีเพศ อายุ และสถานภาพต่างกันมีความผูกพันต่อ องค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี มี 3 ประการ ได้แก่ ควรปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ค่านิยม ในการทำงานเพื่อเพิ่มระดับความผูกพันต่อองค์การ ควรสร้างขวัญกำลังใจในการทำงานโดยเปิดโอกาสให้ บุคลากรได้แสดงความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ และควรเปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการ วางแผนและประเมินผลการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.220en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ -- ไทย -- นนทบุรีth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of organization personnel administration of Nonthaburith_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the commitment to the organization of personnel working at the Nonthaburi Provincial Administrative Organization (PAO); (2) to study the relationship of personal characteristics to organizational commitment; (3) to study ways of increasing the organizational commitment of personnel at the Nonthaburi PAO. The study population was the 1,164 employees of Nonthaburi PAO. Of these, a sample population of 303 was chosen through stratified random sampling using the Taro Yamane method. Data were collected using a questionnaire and analyzed statistically using percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test and Scheffe’s test. The results showed that: (1) Overall, the employees of Nonthaburi PAO had a high level of organizational commitment. The highest scores were in 4 areas: type of work, work experiences, social atmosphere at the workplace, and compensation and benefits. (2) Differences in the factors of sex, work division, rank, educational level, seniority, and salary were related to differences in organizational commitment to a statistically significant degree at the level of 0.01. Differences in the factors of sex, age, and status were related to differences in organizational commitment to a statistically significant degree at the level of 0.05. (3) Three recommendations were made to improve the organizational commitment of personnel of Nonthaburi PAO—change the paradigm of work values, increase morale by giving personnel more opportunities to use their knowledge and abilities, and allow personnel to participate more in planning and evaluating the PAO’s worken_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137366.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons