Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิราภรณ์ เดชกัลยา, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T06:47:38Z-
dc.date.available2023-06-29T06:47:38Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6910-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและ ประสิทธิผลองค์การ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับประสิทธิผลองค์การ จำแนกตาม ปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อประสิทธิผลองค์การ : กรณีศึกษาสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 13,930 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้ 388 คน ด้วยวิธีการลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยวิเคราะห์การ ถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและ ประสิทธิผลองค์การ : กรณีศึกษาสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี อยู่ในระดับมากที่สุด (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับประสิทธิผลองค์การ จำแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และ ประเภทการจ้างงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และ (3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีผลต่อประสิทธิผลองค์การ พบว่า มีตัวแปร จำนวน 2 ตัว ที่มีค่าระดับนัยสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 สามารถนำมาใช้ในการพยากรณ์ภาพรวม ประสิทธิผลองค์การ ได้แก่ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ และด้านการกระตุ้นทางปัญญา โดยร่วมกัน ทำนายได้ร้อยละ 31.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริษัทสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จำกัดth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อประสิทธิผลองค์การ : กรณีศึกษาสวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeThe transformational leadership affecting the organizational effectiveness : a case study of Bangkadi Industrial Park, Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the level of the transformational leadership and the organizational effectiveness; (2) to compare the opinions on the organizational effectiveness level as classified by personal factors; and (3) to study the ransformational leadership affecting the organizational effectiveness: a case study of Bangkadi Industrial Park, Pathum Thani Province. The population in this study were 13,930 employees who work at Bangkadi Industrial Park, Pathum Thani Province. The 388 samples were selected by using stratified random sampling methodology. The research instrument was a questionnaire. The data was analyzed by frequency, percentage (%), mean ( x ), standard deviation (S.D.), t – test Analysis, One – way Analysis of Variance (One - way ANOVA) for analyzing the difference and Stepwise Multiple Regression Analysis for analyzing the relationship. The results of the study found that: (1) the mean score of overall opinions on the transformational leadership and the organizational effectiveness at Bangkadi Industrial Park, was at the highest level. (2) The overall comparison of the organizational effectiveness level as classified by personal factors: sex, age, educational level, salary, and employment type, were different at the 0.05 statistical significance level. (3) The transformational leadership affecting the organizational effectiveness were two independent variables at 0.05 statistical significance, the variables were the inspiration motivation and intellectual stimulation. Predictably, 31.3% were statistically significant at the 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157840.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons